Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลของน้ำเล็คโตรไลต์และภาวะกรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
สมดุลของน้ำเล็คโตรไลต์และภาวะกรดด่างในร่างกาย
ภาวะขาดน้ำ
ภาวะขาดน้ำ คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับอาจขาดเฉพาะน้ำอย่างเดียว
สาเหตุ
การที่ได้รับน้ำน้อยลง ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ผู้ป่วยที่มีอาการโคม่าผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจรวมถึงผู้ที่มีอาการป่วยเป็นเป็นหวัดหรือเจ็บคอทำให้รู้สึกเบื่ออาหารและดื่มน้ำน้อยลง
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
ผู้ป่วยมีอาการอาเจียน ท้องเสีย ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและแร่ธาตุเป็นจำนวนมากรวมถึงการสูญเสียน้ำผ่านทางบาดแผลที่ผิวหนัง
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เมื่อร่างกายขาดน้ำจะมีผลทำให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น จึงดึงน้ำภายในเซลล์ออกจากภายนอกเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นและภายนอกเซลล์เท่ากัน
การตอบสนองของร่างกาย
ปริมาณน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
มีคนกระตุ้นการหลั่งADHและกระตุ้นศูนย์กระจายน้ำ
ทำให้ปริมาณปัสสาวะลดลงน้ำและโซเดียมถูกดูดกับเพิ่มขึ้นและดื่มน้ำมากขึ้นตามลำดับ
อาการขาดน้ำ
อาการรุนแรงถึงปานกลาง
-เหนื่อยง่าย
-ช่องปากแห้ง
-ผิวแห้ง
-ริมฝีปากแห้ง
อ่อนเพลีย
-ปัสสาวะน้อย
อาการขาดน้ำรุนแรง
-ตาลึกโหล
-ผิวหนังแห้งมาก
-กระหายน้ำรุนแรง
-สับสนกระสับกระส่าย
-ซึม ปากแห้งมาก
-ไม่มีเหงื่อ
-ปัสสาวะออกน้อย สีเหลืองเข้มมาก
-กระหม่อมจะบุ๋มลึก
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ไปปกติแต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น
เกิดจาก
การคั่งของเกลือและน้ำ
การคั่งของน้ำอย่างเดียว
การคั่งของน้ำมากกว่าเกลือ
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เข้มข้นเท่ากันทำให้เซลล์บวม
การตอบสนองของร่างกาย
ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณน้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้งการล้าง ADH และอัลโดสเตอโรน ปัสสาวะจึงออกมามากร่วมกับกลไกการยับยั้งการทำงานของศูนย์กระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลันอาการที่พบคือปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อุปนิสัยและกิริยาท่าทาง ผิดปกติ กระตุกชักความดันโลหิตสูง น้ำหนักตัวเพิ่ม ม่านตาขยายไม่เท่ากัน ไม่รู้สึกตัวมีเซ็กส์วัยขึ้น การหายใจหยุด
แบบเรื้อรังอาการพบคือ
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เลอะเลือน
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
การขับ H+โดยการสร้างเกลือแอมโมเนีย
การดูดซึมกลับของ bicarbonate
การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกายโดยเฉพราะ non-volatile acid
1.non-volatile acid จาก protein amino acid ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
non-volatile acidจาก lipid. keto acid
non-volatile acid จาก carbohydrate lactic acid และ pyruvic acid
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรดด่างในร่างกาย
ไต
ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H+ในปัสสาวะมีความมีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุดแต่ต้องใช้เวลาหลายวัน
Buffer
มีวุฒิทั้งในและนอกเซลล์จะปรับภาวะกรดด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาทีมีปริมาณจำนวนจำกัดเมื่อใช้หมดร่างกายจะอาศัยการทำงานของอวัยวะระบบอื่นในการแก้ภาวะเสียสมดุล
ระบบหายใจปอด
ควบคุมอัตราการกำจัดco2ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง carbonic acid
ในสภาวะปกติของร่างกายเมตาบอลิซึมของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา
pH ในเลือดแดงมีค่า< 7.35 เรียกว่า acidosis
ภายในเซลล์ pHปกติอยู่ที่ระหว่าง 6.0-7.4
ในเลือดแดง pH ปกติ 7.35-7.45
เลือดดำและช่องว่างระหว่างเซลล์ pH จะมีค่าประมาณ 7.35
pH ในเลือดแดงมีค่าน้อยกว่า 7.45 เรียกว่า allkalosis
ความไม่สมดุลของน้ำ
หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆไปยังระบบที่เหมาะสมใช้ในปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย
น้ำ
เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกายซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆโดยมีเยื่อกั้นบางๆเป็นตัวแยก 55-60 % ของน้ำหนักตัว
น้ำภายในเซลล์ 40%ของน้ำหนักตัว
น้ำภายนอกเซลล์ 20% ของน้ำหนักตัว
น้ำภายในหลอดเลือด 5% ของน้ำหนักตัว
น้ำระหว่างเซลล์ 15% ของน้ำหนักตัว
ร่างกายได้รับน้ำ 3 ทางคือ
น้ำดื่ม อาหารเหลว น้ำที่ปนในอาหาร
อาหาร เช่นข้าว เนื้อผลไม้
เมตาบอลิซึมในร่างกาย
ร่างกายสูญเสียน้ำ2ทางคือ
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ทางที่ปรับสมดุลได้
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำ
การขับปัสสาวะ