Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด 1 - Coggle Diagram
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
(Postpartum depression)
ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน มีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษา
เข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัด
การบำบัดด้วยยา ในกลุ่ม SSRI เป็นอันดับแรก เช่น fluoxetine
การพยาบาล
การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและพักผ่อน
อย่างเพียงพอ
อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายความแปรปรวนของ
อารมณ์และจิตใจในระยะหลังคลอด
ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา พูดคุยให้การดูแลเอาใจใส่ ให้กาลังใจมารดาสม่ำเสมอ
แนะนำสามี และญาติให้กาลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือมารดาในการดูแลทารกทันที ที่พบว่ามารดา เริ่มมีความยุ่งยากในการดูแลบุตร
ในรายที่มีอาการรุนแรงพยาบาลควรเพิ่มความสังเกต ดูแลอย่างใกล้ชิด
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด
(Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
มีอาการรุนแรงทันที นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน วิตกกังวลอย่างมาก
อาการต่อมาคือ สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่ำครวญ
จะเริ่มตั้งแต่ 48-72 ชั่วโมง หลังคลอด ไม่เกิน 2 สัปดาห์
หลงผิด หวาดระแวง ประสาทหลอน หูแว่ว บางรายซึม เบื่ออาหาร
มีความคิดว่าบุตรจะถูกแย่ง ถูกขโมย ตำหนิตนเอง ลงโทษว่าตนไม่ดี คิด และพยายามฆ่าตัวตาย
การรักษา
รับรักษาในโรงพยาบาล และงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การใช้ยา โดยยาที่ใช้จะมีอยู่ 3 กลุ่ม
ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants)
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
ยาต้านโรคจิต(Antipsychotic drug)
การพยาบาล
ป้องกันการทาร้ายตนเอง
สิ่งของอันตรายเก็บให้พ้นบริเวณที่มารดาพัก
เช่น มีด กรรไกร
ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคาพูด
ดูแลให้ได้รับยา
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด