Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการเรียนการสอน - Coggle Diagram
ระบบการเรียนการสอน
วิธีการจัดการระบบหรือสร้างระบบ
แบบจำลองการจัดระบบของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ขั้นการสังเคราะห์ระบบ (synthesis)
ขั้นสร้างแบบจำลองระบบการสอน (construct of system model)
ขั้นการวิเคราะห์ระบบ (analysis)
ขั้นการทดลองใช้ระบบในสถานการณ์จำลอง (system simulation)
การสร้างระบบหรือจัดระบบ
การศึกษาหลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาสภาพกาลและปัญหาที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดจุดมุ่งหมายของระบบ
การกำหนดองค์ประกอบของระบบ
การจัดกลุ่มองค์ประกอบ
การทดลองใช้ระบบ
การจัดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
การจัดผังระบบ
การประมวลผลระบบ
การปรับปรุงระบบ
ความสำคัญและความเป็นมาของเรื่อง
”ระบบ”และ”วิธีการเชิงระบบ”
(system and system approach)
ระบบต้องประกอบด้วยสิ่งสำคัญอย่างน้อย 3 สิ่ง
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น
เป้าหมายหรือจุดหมายของระบบนั้น
องค์ประกอบสำคัญ ๆ ของระบบ
วิธีการเชิงระบบ (system approach)
ผลผลิต (product)
ตัวป้อน (Input)
กลไกควบคุม (control)
ข้อมูลป้อนกลับ (feedback)
กระบวนการ (process)
ระบบในแง่ของ”การคิดเป็นระบบ”(systematic thinking)
การกำหนดองค์ประกอบและการจัดองค์ประกอบของระบบให้มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้นตอน
ตัวอย่างระบบการเรียนการสอน
ระบบการเรียนการสอนของเกลเซอร์ (Glaser)
คล้ายคลึงกับระบบไทเลอร์แต่องค์ประกอบมากกว่า
การจัดกระบวนการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
การประเมินสถานะของผู้เรียนก่อนสอน
ข้อมูลป้อนกลับ
จุดประสงค์ของการสอน
ระบบการเรียนการสอนของคลอสไมเออร์และริปเปิล (Klausmeier and Ripple)
กำหนดองค์ประกอบไว้ 7 ส่วน
การจัดเนื้อหา วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การพิจารณาความพร้อมของผู้เรียน
การดำเนินการสอน
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
การกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
สัมฤทธิ์ผลกับของนักเรียน
ระบบการสอนตามแนวพุทธวิธี
โดย สุมน อมรวิวัฒน์
ปัจจัยภายนอก
ศรัทธา คำสั่งสอน (ปรโตโฆสะ)
กัลยาณมิตร
คุณธรรม
ความรู้
บุคลิกภาพ
วิธีการสั่งสอน
สิ่งแวดล้อม
บรรยากาศ
แรงจูงใจ
ปัจจัยภายใน
วิธีการแห่งปัญญา วิธีคิดโดยแยบคาย(โยนิโสมนสิการ)
คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
คิดแบบคุณโทษและทางออก
คิดแบบอริยสัจจ์
คิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม
คิดแบบอุบายปลุกเร้า
คิดแบบเป็นอยู่ในปัจจุบัน
คิดแบบวิภัชชวาท
คิดแบบสัญลักษณ์
คิดแบบแยกแยะ
คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
อิสรภาพภายนอก
ปรับตัวได้ต่อความเจริญและการเปลี่ยนแปลง
พ้นจากพันธนาการของระบบสังคมที่เบียดเบียน
ปรับตัวได้กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สามารถเสวยประโยชน์จากความเจริญอย่างประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ
อิสรภาพภายใน
เป็นนายเหนือธรรมชาติภายในตัวเอง
จิตใจสงบแจ่มใส
จิตหลุดพ้นจากความอยาก,ความโกรธ และหลงผิด
ระบบการเรียนการสอนของเคมพ์ (Kemp)
กำหนดองค์ประกอบไว้ 9 ส่วน
กำหนดเนื้อหาวิชาที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ในแต่ละหัวข้อ
ทดสอบความรู้ก่อนทำการสอน
ระบุจุดมุ่งหมายของการสอนในเชิงพฤติกรรม
เลือกกิจกรรมและแหล่งวิชาการสำหรับการเรียนการสอน
ศึกษาคุณลักษณะของผู้เรียน
ประสานงานในเรื่องต่าง ๆ
กำหนดหัวข้อและเขียนจุดประสงค์
ประเมินผลการเรียนตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
พิจารณาแผนการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปรับปรุง
ระบบการเรียนการสอนของไทเลอร์(Robert Tyler)
ไทเลอร์ลูฟ (Tyler Loop)
กิจกรรมการเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนการสอน
จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน
ระบบการเรียนการสอนของกานเยและบริกส์ (Gagne and Briggs)
กำหนดองค์ประกอบไว้ 4 ระดับ
ระดับวิชา
กำหนดโครงสร้างรายวิชา
วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ระดับบทเรียน
ระบุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
จัดเตรียมแผนการสอนหรือโมดูล(ชุดการสอน)
เลือกและ จัดทำสื่อและวัดสดุการเรียนการสอน
วัดและประเมินผล
ระดับระบบ
วิเคราะห์แหล่งทรัพยากรอุปสรรค และข้อจำกัดต่าง ๆ
กำหนดขอบข่ายหลักสูตรและรายวิชาต่าง ๆ
วิเคราะห์ความต้องการเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญ
ระดับชั้นเรียน
การเตรียมครู
การประเมินผลเพื่อการปรับปรุง
การทดสอบ การปรับปรุง
การประเมินผลเพื่อตัดสิน
การจัดระบบและเผยแพร่ระบบ
ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลัคและอีลาย (Gerlach and Ely)
จัดขั้นตอนสำคัญของการจัดการเรียนการสอนไว้ 6 ส่วน
การประเมินพฤติกรรมก่อนการเรียน
การดำเนินการสอน
การจัดห้องเรียน
การจัดเวลาเรียน
การเลือกแหล่งวิทยาการ
การจัดกลุ่มผู้เรียน
กลวิธีการสอน
การเลือกเนื้อหาวิชา
การประเมินผลการเรียน
การกำหนดวัตถุประสงค์
6.วิเคราะห์ข้อมูลป้อนกลับ
ระบบการออกแบบการเรียนการสอน
โดย ทิศนา แขมมณี
ขั้นการคิดออกแบบการเรียนการสอน
ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธีในการสอน(Instructional Strategies)
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อ(Instructional Activities and Media)
วัตถุประสงค์ (Objectives)
การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน(Instructional Measurement and Evaluation)
กำหนดเนื้อหาและมโนทัศน์ (Contents and Concept)
เงื่อนไขและข้อจำกัดต่าง ๆ (Conditions in Teaching and Learning)
ด้านผู้เรียน
ด้านผู้สอน
ด้านโรงเรียนและผู้บริหาร
ด้านสถานที่
ด้านสื่อ วัสดุ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านงบประมาณ
ด้านชุมชน
ด้านผู้ปกครอง
ด้านนโยบายของรัฐ ฯลฯ
พิจารณาหลักสูตร ปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้สอน
ขั้นการเขียนแผนการสอน
เนื้อหาสาระ
วัตถุประสงค์
กิจกรรม
สื่อ
มโนทัศน์
การวัดและประเมินผล
บันทึกผลการสอน
ระบบการจัดการเรียนการสอนแผนจุฬาฯ โดยชัยยงค์ พรหมณ์วงศ์
ประกอบด้วยขั้นตอนสำคัญ 10 ขั้นตอน
วัตถุประสงค์
ทั่วไป
เชิงพฤติกรรม
กิจกรรมการเรียน
เดี่ยว
กลุ่ม
มโนทัศน์และหลักการ
หลัก
ย่อย
การประเมินผล
การปฏิบัติกิจกรรม
การทดสอบหลังเรียน
หัวเรื่อง
สื่อการสอน
หน่วย
หาประสิทธิภาพ
วิชา
นำไปใช้
ขั้นนำ
ขั้นประกอบกิจกรรม
สอบก่อนเรียน
ขั้นสรุป
สอบหลังเรียน
ระบบการเรียนรู้ของคาร์รอล (Carroll)
ผลการเรียนรู้ที่ดี
ความพยายามในการเรียน
เวลาที่ใช้ในการเรียนการสอน
ความสามารถในการเข้าใจ
คุณภาพการสอนของครู
ความถนัดทางการเรียน
ระบบการจัดการเรียนการสอน
โดย สงัด อุทรานันท์
เสนอองค์ประกอบที่สำคัญไว้ 10 ประการ
การดำเนินการสอน
การเสริมสร้างทักษะ
การเตรียมความพร้อม
กิจกรรมสนับสนุน
เนื้อหาสาระที่จะสอน
การควบคุมและตรวจสอบ
จุดมุ่งหมายการสอน
สัมฤทธิ์ผลการสอน
ลักษณะของผู้เรียน
การปรับปรุงแก้ไข