Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิกปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด, สาเหตุ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิกปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
คำศัพท์
Afterload = แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
Congestion = [การคั่งของน้ำหรือเลือดในส่วนต่างๆของร่างกาย
Atherosclerosis = การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Aneurysm = การโป่งพองของผนังหลอดเลือด
Preload = แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เมื่อหัวใจ คลายตัวเต็มที่
Embolus = ลิ่มเลือด ฟองอากาศ ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Stenosis= การตีบแคบของส่วนท่ีเป็นท่อหรือรู
Infarction = การตายของเนื้อเยื่อ จากการขาดออกซิเจน
Orthopnea = เหนื่อยนอนราบไม่ได้
Ischemia = การได้รับเลือดไป เลี้ยงไม่เพียงพอ
การทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต
ประกอบด้วย
หัวใจ Heart
หลอดเลือดแดง atery
หลอดเลือดดำ vein
หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
การทำงาน
เริ่มจากหัวใจห้องบนขวารับเลือดจากส่วนหัว และแขนทาง Superir vena cava ส่วนเลือดจากลำตัวและขาเข้าทาง inferior vena cava เข้าสู่Right Atrium เมื่อหัวใจห้องบนขวาบีบตัวเลือดไหลลงสู่left venticle โดยผ่านtricuspid valve เมื่อ Right ventricle บีบตัวเลือดจะเข้าpulmonary atery โดยผ่านSeminula valva หลอดเลือดนี้นำเลือดไปแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับปอด แล้วรับออกซิเจนจากปอด ทำให้เลือดที่มีออกซิเจนสูงไหลกลับเข้าสู่หัวใจทางpulmonary valve ส่งไปสู่ Left atrium เมื่อห้องบนซ้ายบีบตัวเลือดจะไหลผ่านmitral valve ลงสู่ left venticle เมื่อห้องล่างซ้ายบีบตัวเลือดจะไหลออกทางAorta ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
วิธีประเมินการทำงานของหัวใจ
การฟังเสีงหัวใจ
การจับชีพจร
การวัดความดันโลหิต
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูง
หมายถึง
ความดันโลหิตตัวบน ( Systolic Pressure ) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท
ความดันโลหิตตัวล่าง ( diastolic Pressure ) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
Primary hypertension หรือ Essential hypertension เป็นความดันโลหิตสูงชนิด ไม่ทราบสาเหตุ
Secondaryhypertensionเป็นความดันโลหิตสูงชนิดท่ีทราบสาเหตุซึ่งมีสาเหตุจากโรคไตเช่นโรคหลอดเลือดแดงของ ไตตีบ (renal artery stenosis)
ผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิตสูงจะมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ ปวดศีรษะ หากปล่อยไว้นานๆ อาจส่งผลกระทบไปต่อ หลอดเลือดหัวใจหนา หัวใจขาดเลือด เลือดไปเลี้ยงอวัยวะได้น้อยลง และส่งผลไปถึงภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติอื่นๆ
Thromboangitis obliterans
Aortic aneurysm
Kawasaki’s disease
Raynaud’s syndrome
Takayasu’s disease
Venous thrombosis
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเสียหายจากการที่เลือดขาดออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไ่ม่เพียงพอ ส่งผลให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายหรือกลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ
ลิ้นหัวใจพิการ
เพราะลิ้นหัวใจพิการ หมายถึงลิ้นหัวใจมีการทำงานที่ผิดปกติ จึงทำให้ เลือดไหลย้อนกลับเลยส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวตามมา
ระบบไฟฟ้าหัวใจ
หัวใจจะมีระบบไฟฟ้า และหัวใจคือกล้ามเนื้อ และกล้ามเนื้อจะถูกสั่งให้ทำงานผ่านระบบไฟฟ้า จุดกำเนิดอยู่ที่ห้องบนขวา จะมีระบบประสาทอัตโนมัติมาสั่งให้มีการควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ และเมื่อหัวระบบไฟฟ้าหัวใจมีการผิดปกติเต้นผิดปกติจึงไม่สามารถกระตุ้นหัวใตให้ไปสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ ซึ่งส่งผลให้เกิด ภาวะหัวใจล้มเหลว เพราะเลือดไปเลี้ยงไม่พอ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
~หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว(Left-sided heart failure) โดยปกติหัวใจห้องล่างซ้ายทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย หากเกิดภาวะนี้จะทำให้เลือดคั่งในปอด(น้ำท่วมปอด) ร่วมกับมีอาการบวมที่เท้าได้ เพราะโดยส่วนมากแล้วโรคหัวใจล้มเหลวมักจะมีผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจทั้งสองด้าน
~หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว(Right-sided heart failure) โดยปกติหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่รับเลือดจากร่างกายส่งไปยังปอด หากเกิดภาวะนี้จะทำให้ของเหลวในร่างกายคั่ง เกิดอาการบวมของเท้า ตับโต แน่นท้อง
Anzyme
AST (Aspatate Aminotransferase)
ALT (Alanine Aminotransferase)
LDH (Lactate dehydrogenase)
Creatine kinase
สาเหตุ