Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคระบบทางเดินหายใจ, นางสาวจิราภรณ์ พุทธจักร รหัส621001401466…
การพยาบาลโรคระบบทางเดินหายใจ
ไข้หวัดใหญ่(Influenza)
อาการแทรกซ้อนที่สำคัญ – ปอดบวม
อาการไข้ปวดศีรษะ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไอแห้งๆ คัดจมูก
น้ำมูก ไหล มีอาการรวดเร็ว และอย่นูาน 6-10 วัน
รักษาตามอาการ
กล่มุอาการครปุ๊ (Croup syndrome)
การรักษาตามอาการ
โดยให้ออกซิเจนในรายที่หายใจลา บาก
ให้ยาลดการบวมของทางเดินหายใจ
(adrenaline, corticosteriod)
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ความชื้นให้เพียงพอในรายที่ดื่มน้ำไม่ได้ – อาจต้องให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ
ไซนัสอักเสบ
การรักษา
การล้างจมูกด้วยน้ำเกลือเป็นการรักษาอีกทางที่สาคัญและช่วยทำ ให้หายเร็ว ขึ้น เพราะน้ำเกลือจะช่วยล้างน้ำมูกในจมูกออกไป ไซนัสจะขับน้ำมูกที่คั่งค้างในโพรงออกมาได้ดีขึ้นที่สำคัญระหว่างป่วยหรือเพิ่งหายใหมๆ่ควรงดว่ายน้ำ
ไข้หวัด
การรักษาตามอาการ
แก้ไอ
ลดน้ำมูก
ยาลดไข้
หลอดลมอกเสบ (Bronchitis)
การรักษา
จัดให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ให้ดื่มน้ำมากๆ
ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
ทำกายภาพทรวงอก
คอตีบ(Diphtheria)
การรักษา
ให้ยา aqueous procain penicillin G เข้ากล้ามเนื้อ และ ยา แอนตี้ท๊อกซิน (diphtheria antitoxin: DAT)กายภาพบำบัดทรวงอกการดูดเสมหะ
คออักเสบ (Pharyngitis)
การรักษาตามอาการ
ห้ยาลดไข้ยาแก้ไอ ดูแลให้ได้รับสารน ้า สารอาหารอย่างเพียงพอ ให้ยาปฏิชีวนะพวกเพนนิซิลิน
ต่อมทอนซิลอกัเสบ (Tonsillitis)
การรักษาตามอาการ
โดยให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้ยาแก้ปวด • ผ่าตัดต่อมทอนซิล ในกรณีที่เป็นเรื้อรังมากกว่า 4 ครั้งต่อปี
การดแูลหลงัผา่ตดัทอลซิน
-เฝ้าระวังทางเดินหายใจ
-ระวัง!!! ภาวะเลือดออกหลังการผ่าตัด
-สังเกตจากการอาเจียน อาการกลืนบ่อยๆ ขณะหลับ
-ให้ประคบเย็น วาง cold pack
-ดื่มน้ำและอาหารอ่อนเย็นๆ -ไอศครีม เยลลี่
Sinusitis ไซนัสอักเสบ
ไอกรน(Pertussis)
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ emphysema pneumothorax otitis media
การรักษา
ให้erythromycin 50 มก./กก./วัน นาน 14 วัน
แยกเด็ก 5 วัน เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายเชื้อ
รักษาตามอาการ โดยเฉพาะหลีกเลี่ยงการไอ
การกำจัดเสมหะ
การให้ออกซิเจน
หอบหืด (Asthma)
การรักษา
-Glucocorticosteroid/Long-acting inhaled β2-agonist (LABA) /Leukotriene modifers/Sustained-release theophyllines
โรคหลอดลมฝอยอักเสบ
การรักษา
ให้ออกซิเจนที่มีความชื้นสูงให้ยาปฏิชีวนะยาละลายเสมหะ
ยาขยายหลอดลม
(epinephrine,beta 2 agonist)
ปอดบวม หรือปอดอักเสบ (Pneumonia)
การรักษา
ให้ยาฆ่าเชื้อให้ออกซิเจนให้ยาลดไข้ให้น้ำให้เพียงพอดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดดูเสมหะทำกายภาพทรวงอกร่วมกับการให้ยาขับเสมหะ
วัณโรคปอด Pulmonary TB
การรักษา
ยา INH (Isoniazid) ขนาด 5-10มิลลิกรมั/กิโลกรมั/วัน สูงสุดไม่เกิน 300 มิลลิกรัม/วัน โดยให้รับประทานวันละ 1 ครั้ง ตอนท้องว่าง โดยมักจะแนะนำให้เด็กรับประทานก่อนนอนทุก วัน ติดต่อกัน 6 เดือนหากแพทยพ์บว่าผู้ใ้หญ่ที่เป็นแหล่งโรคดื้อต่อยา INH สามารถ ให้ยา Rifampicin เป็นเวลา 4 เดือน หรือยา Rifampicin ร่วมกับยาPyrazinamide ทุกวันเป็นเวลาติดต่อกัน 2 เดือนหลังได้ยา ครบ 2 สัปดาห์ไม่ต้องแยกเด็กนัดมาตรวจอาการต่อเนื่อง ทุกเดือน และหลังได้ยาครบนัดทุก 3 เดือน และ 6 เดือนจนครบ 2 ปี
นางสาวจิราภรณ์ พุทธจักร รหัส621001401466 เลขที่1