Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จรรยาบรรวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและ กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศ…
จรรยาบรรวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและ
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา
:silhouettes:
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริบริการ
ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างทีดี่ ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา
จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซือสัตย์ สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อสังคม
ผู้บริหารสถานศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึงกัน และกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อตนเอง
ผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทัน ต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยู่เสมอ
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา :silhouette:
:silhouette:**
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
เป็นกฎหมายเกี่ยวกับ อำนาจหน้าที่ คุณสมบัติ ตำแหน่งงาน ของบุคลากร หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
เป็นกฏหมายเกี่ยวกับผู้ปกครองในการส่งนักเรียนเข้าเรียนเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดให้ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกกระบบและตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
เป็นกฎหมายเกี่ยวกับ การส่งเสริมการศึกษานอกระบบปละการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยการศึกษานอกระบบคือ การจัดการศึกษาที่มีรูปแบบ หลักสูตร เวลาที่ยืดหยุ่น
การศึกาษาตามอัธยาศัย คือ กิจกรรมการเรียนรู้ ในชีวิตประจำวันของบุคคลสามารถจะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ตามความสนใจและความต้องการ
พระราชบัญญัติการศึกษาสำหรับคนพิการ
ฉบับที่ 1
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่การจัดการศึกษาสำหรับคบพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลทั่วไปจึงจำเป็นต้องจัดให้ คนพิการมีสิทธิและโอกาส ไได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพอเศษตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความพิการ
ฉบับที่ 2
เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติให้ครูการศึกษาพิเศษซึ่งทําการสอนคนพิการต้องมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป ทําให้ครูซึ่งทำการสอนคนพิการไม่เพียงพอแก้ไขบทนิยามคําว่า “ครูการศึกษาพิเศษ” ให้มีความหมายกว้างขึ้นและครอบคลุมครูที่มีวุฒิทางศึกษาพิเศษ ระดับปริญญาตรี
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 แก้ไขฉบับที่ 4
มีทั้งหมด 9 หมวด 78 มาตรา
หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ เป็นกฏหมายที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาและระบบโครงสร้างต่างๆ
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา เป็นกฏหมายที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา 3 แบบ 1.การศึกษาในระบบ 2. การศึกษานอกระบบ 3.การศึกษาตามอัธยาศัย
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา เป็นกฏหมายเกี่ยวกับ สิทธิของเด็ก และหน้าที่ของผู้ปกครองในการเข้ารับการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาว่าควรเน้นการจัดการสอนรูปแบบใด
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา เป็นกฏหมายเกี่ยวกับ องค์กรการศึกษา และหน้าที่ขององค์กรนั้นๆ
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพภายนอก
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เป็นกฎหมายเกี่ยวกับองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา เป็นกฎหมายเกี่ยวกับงบประมาณที่ใช้เกี่ยวกับการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยี มาใช้กับการศึกษา หรือสถานศึกษา
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ส.2562
เป้นกฎหมายเกี่ยวกับ สภาครู และบุคลากรทางการศึกษา หรือเรียกว่า คุรุสภา ที่มีฐานะเป็น นิติบุคคล อำนาจหน้าที่ของคุรุสภาและตำแหน่งต่างๆในคุรุสภา ค่าธรรมเนียม การดำเนินงาน
034 นางสาวเมตมุนินทร์ แก้วปรีชา
อ่านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเพิ่มเติม