Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความแตกต่าง (สายสามัญ vs สายอาชีพ) - Coggle Diagram
ความแตกต่าง (สายสามัญ vs สายอาชีพ)
สายสามัญ
สายอาชีพจะเป็นการศึกษาเฉพาะทางโดยเน้นให้ผู้เรียนที่จบการศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพ หรือสมัครงานตามสาขานั้น ๆ ได้ ซึ่งถือว่าผู้ที่เรียนจบสาขาวิชานั้น ๆ เป็นผู้มีความรู้พื้นฐานสำหรับประกอบอาชีพนั้น ๆ ได้
การศึกษา:
ปวช. , ปวส.
หลักสูตร ปวช. คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หลักสูตร ปวส. คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ระดับ ปวช. เป็นระดับการฝึกวิชาชีพระดับพื้นฐานในงานสายอาชีพนั้น ๆ ซึ่งมีความรู้ความสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ตามความรู้ที่เรียน
ส่วนระดับ ปวส. เป็นระดับความรู้ที่สูงขึ้นจาก ปวช. โดยเน้นความรู้เฉพาะมากขึ้นมีความรู้ความชำนาญพิเศษมากขึ้น
การศึกษาระดับสายอาชีพสามารถศึกษาต่อได้ถึงระดับสูงสุดเท่ากับการศึกษาสายสามัญ คือ ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ซึ่งเป็นการพัฒนาการศึกษาตามลำดับขั้นสำหรับผู้สนใจศึกษาต่อระดับสูงขึ้นไปเพื่อยกระดับความรู้ความสามารถ
ข้อเสีย
1.มีข้อจำกัดในการต่อมหาลัย เพราะมหาลัยรัฐหลายที่หลายคณะที่เขาไม่รับเด็กสายอาชีพ
ถ้าเป็นเอกชนก็แล้วไป
สังคมสายอาชีพไม่ค่อยดี เด็กเกเร เสียส่วนใหญ่ (ไม่ได้เป็นเด็กเกเรทุกคน)
ข้อดี
มีตัวเลือกหลายหลักสูตร ตรงสายอาชีพหลายประเภท
ได้ความรู้เฉพาะทางแน่น
มีทักษะวิชาชีพติดตัว
เก็บประสบการณ์ได้เร็ว
มีแต้มต่อความรู้วิชาชีพ ก่อนเรียนต่อมหาวิทยาลัย
จบแล้วเป็นที่ต้องการของตลาดงาน
สายอาชีพ
ความหมาย = คือ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกระทรวงศึกษาธิการกำหนด โดยให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระ และสาระเพิ่มเติม เช่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว เป็นต้น โดยการจัดการศึกษาสายสามัญ แบ่งออกเป็น ระดับประถมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
การศึกษาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกระทรวงศึกษาธิการกำหนด โดยให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระ
ข้อดี
จะได้ความรู้พื้นฐานทั่วไป มากกว่าสายอาชีพ (เน้นทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติจริง)
สามารถเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยได้ทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเอกชนหรือรัฐบาล
มีโอกาสเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนได้ในต่างประเทศ หรือกิจกรรมอื่นๆ ได้มากกว่าสายอาชีพ
ข้อเสีย
ความรู้เฉพาะด้านอาจไม่แน่นเท่าสายอาชีพ (ในบางกรณี)
เรียนจบ ม.6 ถ้าไม่ต่อปริญญาตรี จะไม่มีความหมายเลย (หางานค่อยข้างยาก)
สายสามัญส่วนใหญ่จะไม่เจอวิชาชีวิต (ประสบการณ์ต่างๆ การเอาตัวรอด หรือการพบเจออะไรแย่ๆ เท่ากับสายอาชีพ)