Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์สถานการณ์ครอบครัวนางสุดา - Coggle Diagram
วิเคราะห์สถานการณ์ครอบครัวนางสุดา
A ปัจจัยสถานการณ์หรือเหตุการณ์
ที่ก่อให้เกิดปัญหาที่ก่อให้เกิดภาวะวิกฤติ
ด้านสุขภาพ : มีโรคประจำตัว คือ ไตวายเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง
ไตทั้ง 2 ข้างฝ่อ ไม่สามารถทำงานได้แล้ว จำเป็นจะต้องล้างไตผ่านทางหน้าท้อง 4 ครั้ง
ด้านสังคมและความสัมพันธ์ในครอบครัว : หย่าร้างกับสามี
มีการเปลี่ยนแปลงบทบาทไปจากเดิม ซึ่งต้องรับภาระต่างๆเพียงคนเดียว
ด้านเศรษฐานะ : รายได้ลดลง ความยากจน ลูกสาวยังไม่มีรายได้/ไม่มีอาชีพนางสุดาเป็นหลักของครอบครัวในการหารรายได้แต่เพียงผู้เดียว
ด้านการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ : ระยะทางในการไปรับการรักษาโดยระยะทางจากบ้านถึงโรงพยาบาล ประมาณ 30 กิโลเมตร
การดูแลผู้สูงอายุ : ครอบครัวมีผู้สูงอายุคอยดูแล
B แหล่งประโยชน์ของครอบครัว
ภายนอก
ได้รับการช่วยเหลือจากสถานบริการสุขภาพในการรักษาอย่างต่อเนื่อง
การช่วยเหลือจากโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้านในเรื่องการเลือกแนวทางในการรักษาจากทีมสุขภาพโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้านได้ประสานงานรับการดูแลจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประจำพื้นที่
สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC)
จากญาติพี่น้องโดยการยืมเงินมาเป็นค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่าย
ภายใน
คนในครอบครัวเกื้อหนุนกันเอง
C การรับรู้การรับรู้และ
การให้ความหมายต่อเหตุการณ์ที่
ประมาณ 1 ปีก่อน ทุกวันตอนตื่นนอน ตอนเช้านางสุดาจะมีอาการบวมที่หนังตา และใบหน้า ต่อมาได้รับการตรวจจากโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน พบว่ามีภาวะความดันโลหิตสูงและมีปัญหาการทำงานของไต จึงส่งตัวไปรับบริการที่โรงพยาบาลจังหวัด แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคไตวาย ได้ทำการรักษาโดยรับประทานยา 1ปี ต่อมาแพทย์ได้แจ้งว่าการรักษาด้วยยาไม่ได้ผล ไตทั้ง 2 ข้างฝ่อ ไม่สามารถทำงานได้แล้ว จำเป็นจะต้องทำการขับของเสียออกจากร่างกายโดยการล้างไต
X ปัจจัยการปรับตัวของครอบครัวถ้ารับตัวไม่ดีเกิดภาวะวิกฤตได้
นางสุดาสามารถปรับตัวได้ รับรู้ว่าตนเองป่วยเป็นโรคไตวายเรื้อรัง ซึ่งส่งผลกระทบหลายๆด้านในครอบครัว เช่น ด้านค่าใช้จ่ายในการรักษา ด้านเศรษฐกิจในครอบครัว นางสุดาแก้ไขปัญหาโดยการกู้เงินจากญาติพี่น้อง เนื่องจากครอบครัวมีฐานะยากจน และเข้ารับการปรึกษากับทีมสุขภาพในการขอเลือกแนวทางการรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัดโดยการฟอกไตผ่านทางหน้าท้อง ยอมไปรักษาและไปตรวจตามแพทย์นัดที่โรงพยาบาลเดือนละ 1 ครั้ง
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชน
ผู้พิทักษ์สิทธิครอบครัว (Family advocate)
ผู้บริการสนับสนุนการดูแลให้คำปรึกษาด้านเทคนิคที่บ้าน
(Deliverer and supervisor of care and technical)
ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ
(Health educator)
พยาบาลครอบครัวในฐานะผู้อภิปรายแปลความซับซ้อน
ให้ครอบครัวเข้าใจได้ง่ายขึ้น (Clarify and interpret)
ผู้ประสานงาน (Co-Ordinator)
การให้คำปรึกษา (counselor)
เป็นที่ปรึกษา (consultant)
แนวทางการพยาบาล
1สร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและครอบครัว
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและคนในครอบครัวได้พูดคุยเพื่อระบายความรู้สึก และปรับความเข้าใจซึ่งกันและกัน
3.ให้คำปรึกษา ให้ทางเลือกแก่ครอบครัวเมื่อเขาต้องการความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำต่างๆเพื่อร่วมกันจัดการปัญหา
4.หาแหล่งช่วยเหลือ ที่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวได้
5.ลงเยี่ยมครอบครัวที่บ้าน เพื่อติดตามอาการและประเมินภาวะสุขภาพของครอบครัว
6.ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อทางช่องสายระบายของเสีย เนื่องจากผู้ป่วยล้างไตผ่านทางช่องท้อง (CAPD)
นางสุดามีปัญหาด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นเสาหลักของครอบครัว แต่ต้องมาป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง
1.นางสุดาและครอบครัวมีภาวะเครียดและวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพการเจ็บป่วย