Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
กรดด่างในร่างกาย
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
1.Primary metabolic acidosis:
เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
สาเหตุ 1. มีการสร้างกรดมากขึ้น 2.ร่างกายไม่สามารถกำจัดกรดได้ 3.สูญเสียไบคาร์บอเนตมากทำให้เลือด
เป็นกรด
ปวดศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ กล้ามเนื้อกระตุก
2.Primary metabolic alkalosis: มีการสะสม bicarbonate ในร่างกาย เกิดจาการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
สาเหตุ 1.สูญเสียกรด เช่น การอาเจียน 2.ได้รับยาขับปัสสาวะจึงขับโปตัสเซียมและไฮโดรเจนไอออน
กระสับกระส่าย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
3.Primary respiratory acidosis: ลดการหายใจ C02 สูงขึ้น PHลดลง
สาเหตุ 1.สูญเสียกรดจำนวนมาก เช่น อาเจียน 2.ระบบประสาทส่วนกลางถูกกดจากยา เช่น มอร์ฟีน ยาสบ
ปวดศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ภาวะโพแทสเซียมสูง
4.Primary respiratory alkalosi: เพิ่มการหายใจ C02 ต่ำลง pHเพิ่มขึ้น
สาเหตุ 1.หายใจแรงลึก (Hyperventilation) 2.ศูนย์หายใจถูกกระตุ้นให้หายใจออกเร็วและลึก จากภาวะสมองอักเสบ ไข้สูง
อาการชัก กายใจเร็ว ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
การควบคุมความสมดุลของกรด - ด่าง
(regulation of acid base balance )
ในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4และ pH ใน เลือดดำ (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดำต่ำกว่าในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดคำ มีคาร์บอนไดออกไซค์อยู่มากกว่าในเลือดแดง
1.Acidosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นกรดเกิดขึ้น มีระดับของ PH ในเลือดแดง < 7.35
2.Alkalosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นด่างเกิดขึ้น มีระดับของ PH ในเลือดแดง > 7.45
3.Arterial Blood Gases: วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง แล้วนำไปหาค่า
4.Buffer: สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง PH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเดิมกรดแก่ หรือด่างแก่ลงไป หรือแม้ pH จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
1.ในเลือดแดง pH ปกติมีค่า7.35-7.45
2.ในเลือดดำและในช่องว่างระหว่างเซลล์ PH มีค่าประมาณ7.35
3.ภายในเซลล์ PH ปกติอยู่ระหว่าง6.0-74 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
pH ในเลือดแดงมีค่า > 7.45 เรียกว่า Alkalosis
pH ในเลือดแดงมีค่า < 7.45 เรียกว่า Acidosis
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
ไต:ควบคุมปริมาณการชับทิ้ง H+ในปัสสาวะ มีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุดแต่ต้องใช้เวลาหลายวัน
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยระบบหายใจ
1.ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 H+ที่เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อกำจัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
2.ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 H+ ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่มCO2 ทำให้ pH ต่ำลง
ระบบ buffer ในร่างกายแบ่งเป็น 4 ส่วน
1.Bicarbonate-carbonic acid buffer system
1.ในร่างกาย เช่น plasma มี pH =7.4
-bicarbonate (HCO3) = 27mEq/L.
carbonic acid (H2CO3) = 1.35mEq/L.
2.buffer ระบบนี้มีความสำคัญที่สุดในเลือดเนื่องจาก
มีปริมาณมากที่สุดในเลือด
มีประสิทธิภาพมากที่สุด
2.Phosphate buffer system
-เป็น buffer ที่สำคัญในเซลล์มากกว่าในเลือดเนื่องจากมีอยู่ในเชลล์จำนวนมาก โดยเฉพาะในRedblood cell และ renal tubule cell
3.rotein buffer system
-พบทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ แต่โดยส่วนใหญ่พบในเซลล์ มีประจุลบ จึงเป็น buffer ที่มีความสำคัญในเซลล์
4.Haemoglobin buffer system
Haemoglobin เป็น buffer ที่สำคัญมากในเซลล์เนื่องจากจะรวมกับ H+ กลายเป็น HHb และรวมตัวกับCO2 เป็นHHbCO2
Arterial Blood Gas (ABGs)
วิธิประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโโยการตรวจวัด Arterial Blood Gas (ABGs)
pH ค่าปกติ 7.35-7.45 บอกความเข้มข้นของ H+
PCO2 ค่าปกติ 35-45 วัดแรงดันของ CO2 ซึ่งบ่งบอกถึงความเช้มช้นชอง carbonic (H2CO3) ในเลือด
HCO3- ค่าปกติ 22-25 mEq/L. บอกความเข้มข้นของ bicarbonate (HCO3-)
BE (Base exess) ค่าปกติ +2 ด่างที่เป็น buffer ในเลือด (Blood buffer base) BE. ที่มีค่าเป็น+ มากแสดงว่ามีด่างในเลือดมาก
PO2 ค่าปกติ 80-100 mm.Hg. วัดแรงดันของ O2 ในเลือดแดง บ่งบอกถึงความเข้มข้นของ O2 ในเลือด
การแปลผล ABGs
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกคำ acid-base status) หากค่า pH < 7.35 = acidosis , pH > 7.45 = alkalosis 2. ชั้นตอนการวเคราะห์ค่า Arterial Blood Gas : ABG
ขั้นที่ 2 ดูค่า PaC02 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system) หากคำ PaC02 > 45 mmiig. - acdosis,PaCO2< 35 mmiig.- alkalosis
ขั้นที่ 3 ดูค่า HCO3* (บอกความผิดปกติซอง Metabolism system) หากค่า HC03"> 26 -alkalosis, HICOg<22- aodosis
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย
กรณีไม่มีการชดเชย (non compensation) ค่า PaC02,HC03* คำใดค่หนึ่งเปลี่ยนอีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปในแนวทางของ pH(acidosis, alkalosis) ตามสาเหตุ
กรณีมีการชดเชย แบ่งได้เป็น 2 แบบ
2.1 ชดเชยบางส่วน (partly compensation) pH ผิดปกติ และค่า PaC02 , HC03- เปลี่ยนแปลงตรงข้ามกัน คือค่าหนึ่งเป็นกรดอีกค่าเป็นต่าง
2.2 ชดเชยสมบูรณ์ (completely compensation) pH อยู่ระหว่าง 7.35 - 7.45 ใช้เกณฑ์ 7.40 ตัด
หากค่า PH< 7.4 - acidosis , pH > 7.4 - alkalosis
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกชิเจน ให้ดูจากคำ PaO2 61 - 80 -mild hypoxemia, 40 - 60 =moderate hypoxemia, < 40 =severe hypoxemia