Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย, นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001,…
สมดุลน้ำ อิเล็คโตรไลท์ กรดด่างในร่างกาย
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
non-volatile acid จาก protein: amino acid ที่มีsulfuricและphosphoric acid
non-volatile acid จาก lipid: keto acid
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-volatile acid
non-volatile acid จาก carbohydrate: lactic acid และpyruvicacid
การควบคุมความสมดุลของกรด - ด่าง
(regulation of acid base balance)
ในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ใน เลือดดํา (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดําต่ำกว่าในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดในภาวะปกติ pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4 และ pH ในเลือดดำ (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดําต่ำกว่าในเลือดแดง
ในสภาวะปกติของร่างกายmetabolism ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร
ในเลือดแดง pH ปกติมีค่า 7.35-7.45
ในเลือดดําและในช่องว่างระหว่างเซลล์pH มีค่าประมาณ 7.35
ภายในเซลล์PH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0-7.4 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
pH ในเลือดแดงมีค่า > 7.45 เรียกว่า alkalosis
pH ในเลือดแดงมีค่า < 7.35 เรียกว่า acidosis
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
uffer:มีอยู่ทั้งในและนอกเซลล์จะปรับภาวะกรด-ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาทีมีปริมาณจํากัดเมื่อใช้หมดร่างกายจะอาศัยการทํางานของอวัยวะระบบอื่นในการแก้ภาวะเสียสมดุล
ระบบหายใจ ปอด: ควบคุมอัตราการกําจัด C02 ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง carbonic acid (H2CO3)
ไต: ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H' ในปัสสาวะ มีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุดแต่ต้องใช้เวลาหลายวัน
Buffer
เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้
ทําปฏิกิริยากับกรดและด่างเกิดเป็นเกลือของกรดหรือด่างนั้นซึ่งมีสภาพเป็นกลางหรือกรดอ่อน
ระบบ buffer ในร่างกายแบ่งเป็น 4 ระบบ
Phosphate buffer system
Protein buffer system
Bicarbonate-carbonic acid buffer system
Haemoglobin buffer system
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
การดูดซึมกลับของ bicarbonate
การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
การขับ H+ โดยการสรา้งเกลือแอมโมเนีย
ความหมายของคํา
Acidosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นกรดเกิดขึ้นมีระดับของ PH ในเลือดแดง < 7.35
Alkalosis: ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นต่างเกิดขึ้นมีระดับของ PH ในเลือดแดง > 7.45
Arterial Blood Gases: วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง
Buffer: สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง PH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่หรือด่างแก่ลงไปหรือแม้ PH จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
ในภาวะที่ร่างกายเป็นกรด กลวิธีทั้งประการจะทํางานมากขึ้นปัสสาวะจะมีPH ต่ำลงอาจต่ำได้ถึง 4.0 มีการขับถ่าย titratable acidและเกลือแอมโมเนียเพิ่มขึ้นในภาวะที่ร่างกายเป็นด่างกลวิธีในการขับ H+ และดูดซึ,bicarbonate กลับจะลดลง ปัสสาวะเป็นด่าง อาจมีpH ได้ถึง 8.0 มีการขับ bicarbonate ในปัสสาวะการสร้าง titratable acid และเกลือแอมโมเนียน้อยลง
Phosphate buffer system
เป็น buffer ที่สําคัญในเซลล์มากกว่าในเลือดเนื่องจากมีอยู่ในเซลล์จํานวนมาก โดยเฉพาะใน Redblood cell และ renal tubule cell
พบทั้งในเซลล์และนอกเซลล์แต่โดยส่วนใหญ่พบในเซลล์มีประจุลบจึงเป็น buffer ที่มีความสําคัญในเซลล์
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
การคั้งของทั้งเกลือและน้ำ (isotonic expansion)
การคั้งของน้ำอย่างเดียว (water volume excess)
การคั้งของน้ำมากว่าเกลือ (hypo-tonic expansion)
ภาวะขาดน้ำ (Fluid deficit หรือ Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับอาจขาดเฉพาะน้ำอย่างเดียวหรือขาดน้ำมากกว่าเกลือ(hypertonic dehydration)
กลไกลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การตอบสนองของร่างกาย
ปริมาตรน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เมื่อร่างกายขาดน้ำจะมีผลทําให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
จึงดึงน้ำจากภายในเซลล์ออกสู่ภายนอกเซลล์
ความไม่สมดุลของน้ำ
น้ำภายในเซลล์( intracellular fluid ; ICF ) : 40% ของน้ำหนักตัว
น้ำภายนอกเซลล์( extracellular fluid ; ECF ) : 20% ของน้ำหนักตัว
น้ำ (WATER) น้ำ ( total body fluid ) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกาย ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ โดยมีเยื่อกั้นบางๆ (membrane) เป็นตัวแยก : 55-60% ของน้ำหนักตัว
กลไกลการรักษาดุลยภาพของน้ำ
การกระหายน้ำ
สมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ควบคุมปริมาณน้ำในเลือดถ้าร่างกายขาดน้ำมักจะทําให้เลือดเข้มข้นกว่าปกติเกิดอาการกระหายน้ำ
ถ้าเลือดเจือจางไฮโพรทาลามัสจะยับยั้งการสร้าง ADH ทําให้การดูดน้ำกลับคืนน้อยน้อยปริมาณน้ำในร่างกายจึงอยู่ในสภาวะสมดุล
ADH ไปกระตุ้นท่อหน่วยไตให้ดูดน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือดทําให้ปริมาณน้ำในหลอดเลือดสูงขึ้นและความรู้สึกกระหายน้ำลดน้อยลง
การขับปัสสาวะ
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่โดยอาศัย ADH
กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
aldosterone
ADH
การกรองที่ไต
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำที่รุนแรงน้อยถึงปานกลางได้แก่ผิวแห้งริมฝีปาก,ช่องปากแห้ง, อ่อนเพลีย, เหนื่อยง่าย, ปัสสาวะน้อย, มึนหัวเวียนศีรษะ
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อยลงดื่มน้ำน้อยเกินไป
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
ปัสสาวะมากผิดปกติ
เสียทางผิวหนังและปอดเหงื่อออกมากผิดปกติ
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำควบคุมโดยปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมาศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
การขับปัสสาวะอาศัยไตควบคุมโดยความเข้มข้นและปริมาตรของพลาสมา
นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001