Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
image - Coggle Diagram
บทที่ 3 แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
สาเหตุ
-
-
-
รังสี เช่น แสงแดด (แสงอัลตราไวโอเลต), รังสีโคบอลต์
-
-
-
-
ระดับของการถูก Burn
ระดับท่ี 1 (First degree burn)
บาดแผลท่ีมีการทำลายของเซลล์หนังกำพร้าช้ันผิวนอก (Dermis) เท่าน้ัน หนังกำพร้าช้ันในยังไม่ถูกทำลาย และยังสามารถเจริญข้ึนมาแทนที่ส่วนผิวนอกได้ โดยปกติจะหายได้เร็ว และสนิท และไม่ทำให้เกิดแผลเป็น
ระดับที่ 2 ชนิดตื้น (Superficial partial-thickness burns)
คือ บาดแผลท่ีมีการทำลายของหนังกำพร้าท้ังช้ันผิวนอก (Dermis) และชั้นในสุด (Epidermis) และหนังแท้ส่วนท่ีอยู่ตื้น ๆ (Superficial dermis) ใต้หนังกำพร้า
ระดับท่ี 2 ชนิดลึก (Deep partial - thickness burns)
คือ บาดแผลท่ีมีการทำลายของหนังแท้ส่วนลึก ลักษณะ บาดแผลจะตรงกันข้ามกับบาดแผลระดับท่ี 2 ชนิดตื้น คือ จะไม่ค่อยมีตุ่มพอง แผลเป็นสีเหลืองขาว แห้ง และไม่ค่อยปวด บาดแผลชนิดนี้มีโอกาสทำให้เกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก ถ้าไม่มี การติดเชื้อซ้ำเติม
ระดับที่ 3 (Third degree burn) คือ บาดแผลท่ีมีการทำลายของหนังกำพร้าและหนัง แท้ท้ังหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อรูขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกจนถึงชั้นกล้ามเน้ือหรือกระดูก ผู้ป่วยจึงมักไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผลเนื่องจากเส้นประสาทท่ีอยู่ บริเวณหนังแท้ถูกทาลายไปหมดมักเกิดจากไฟไหม้ หรือถูกของร้อนนาน ๆ หรือ ถูกไฟฟ้าช็อต ถือเป็นบาดแผลที่ร้ายแรง เพราะอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำและติดเชื้อรุนแรงได้
การรัษา
แผลระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ชนิดตื้น ให้การรักษาโดยการล้างแผลด้วยน้ำเกลือ ซับแผลให้แห้ง แล้วทำด้วยครีมที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ (Topical antibiotic) หรือใช้วัสดุปิดแผลสาหรับบาดแผลระดับที่ 1 อาจใช้ครีมสเตียรอยด์ หรือเจลว่านหาง จระเข้ขององค์การเภสัชกรรม ทาบาง ๆ หรือทาด้วยวาสลินหรือน้ำมันมะกอกแทนก็ได้
-
-
การพยาบาลเบื่องต้น
ล้างแผลด้วยเกลือที่ปราศจากเชื้อ และถ้ามีคราบเขม่าติดแน่น อาจใช้สบู่ช่วยล้างออกได้ แต่ห้ามถูแผลแรง ๆ เพราะจะทำให้เกิดการบาดเจ็บมากขึ้น หลังจากล้างแผลแล้ว ให้ใช้ผ้าที่ปราศจากเชื้อซับน้ำให้แห้ง ทาด้วยยาฆ่าเชื้อและฉีดยาป้องกันบาดทะยัก และบรรเทาอาการปวด
ถ้ามีตุ่มพองเล็ก ๆ เกิดที่ฝ่ามือเพียง 2-3 ตุ่ม ไม่ควรใช้เข็มเจาะ แต่ให้ทาด้วยยาฆ่าเชื้อ เช่น โพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-iodine) หรือทิงเจอร์เมอไทโอเลต (Merthiolate) และปิดด้วยผ้า ก๊อซ แล้วตุ่มจะค่อย ๆ แห้งหลุดล่อนไปเองภายใน 3-7 วัน
ถ้ามีตุ่มพองเป็นบริเวณกว้าง ให้ใช้กรรไกรที่ทาให้ปราศจากเชื้อขริบเอาหนัง ที่พองออก แล้วล้างด้วยน้าเกลือ ซับแผลให้แห้ง แล้วทาด้วย
แผลระดับท่ี 2 ที่มีขนาดไม่กว้าง หลังจากล้างแผลแล้วให้ทายาลงบนแผลและปิดด้วย Non-adherent dressing หรือปิดแผลด้วย Biologic dressing แล้วใช้ผ้าก๊อซหลาย ๆ ช้ันทับปิดอีกครั้ง
-
-
-