Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
Forceps Extraction delivery
หัตถการช่วยคลอดด้วยคีม
ข้อบ่งชี้
ด้านผู้คลอด
1.ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนล้า ได้รับยาบรรเทาปวดหรือได้รับการทำ Epidural block
2.มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH/Chronic hypertension
3.Prolong 2 nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน >2 hr.,ครรภ์หลังนาน >1 hr. กรณีทำ Epidural block ครรภ์แรกนาน >3 hr.,ครรภ์หลังนาน >2 hr.)
ด้านทารก
1.Abnormal FHS
2.ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
3.ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น (After coming head)
ชนิดของคีม
1.Simpson forceps
ไม่เหมาะสมสำหรับการหมุน เพราะจะทำให้เกิดการบาดเจ็บช่องคลอดได้ยาก
2.Tucker-Mclean forceps
ใช้ในการหมุนศีรษะทารกได้
3.Piper forcceps
ใช้คลอดศีรษะทารกที่เป็น่าก้น
4.Kielland forceps
เหมาะสำหรับหมุนศีรษะทารก ปัจจุบันไม่นิยมทำ เนื่องจากหากไม่มีความชำนวญหรือประสบการณ์อาจทำให้เกิดอันตราย
ชนิดของการช่วยคลอดด้วยคีม
1.Outlet forceps
-เห็นหนังศีรษะทารกทางช่องคลอดโดยไม่ต้องแหวก labia
-กะโหลกศีรษะทารกเคลื่อนลงมาถึง pelvic floor
-Sagital suture อยู่ในแนวหน้าหลัง
-ศีรษะทากรอยู่บน Perineum
-การหมุนไม่เกิน 45 องศา
2.Low forceps
-ส่วนต่ำสุดของศีรษะทารกอยู่ในระดับ 2+ หรือมากกว่า แต่ไม่ถึง pelvic floor
-มีการหมุนศีรษะน้อยกว่า/มากกว่า 45 องศา
3.Mid forceps
ศีรษะทารกเข้าสู่ช่องเชิงกราน (engagement)แล้ว และส่วนนำอยู่ระหว่าง 0 ถึง +2
4.High forceps
ไม่นิยมเนื่องจากมีอันตรายต่อทารกมาก
ข้อบ่งชี้การช่วยคลอดด้วยคีม
1.ทารกอยู่ในท่าศีรษะหรือท่าหน้าที่เป็น Chain anterior
2.ช่วยคลอดทารกศีรษะท่าก้น after coming head
3.ศีรษะทารกลงสู่ช่องเชิงกราน รู้ตำแหน่งศีรษะแน่นอน
4.ไม่มีภาวะผิดสัดส่วนศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานและเนื้องอกภายในอุ้งเชิงกราน
5.ปากมดลูกเปิดหมด
6.Membrane rupture
7.Empty bladder
8.ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่หรือยาชา เพื่อบรรเทาอาการปวด และเพื่อให้ช่องคลอดหย่อนตัว
9.ทราบ FHR pattern
10.เตรียมพร้อม C/S emergency เสมอ กรณีการช่วยคลอดด้วยคีมล้มเหลว
การพยาบาล
ก่อนทำ
1.อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด เหตุผล และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดความวิตกกังวลและการให้ความร่วมมือ
2.จัดท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝีเย็บ
3.เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด ได้แก่ Forceps,สารหล่อลื่น,อุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
4.ให้ IV fluid และ Oxytocin ตามแผนการรักษาของแพทย์
ขณะทำ
1.ฟัง FHS ทุก 5 นาที/on EFM เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.ให้กำลังใจผู้คลอด
3.ขณะแพทย์ใช้คีม ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง
4.ดูแลความสุขสบาย โดยการเช็ดหน้าด้วยน้ำเย็น ให้ผู้คลอดพักขณะมดลูกคลายตัว เมื่อมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้เบ่งพร้อมดึง
5.ประเมิน V/S เป็นระยะๆ
6.ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งเมื่อศีรษะทารกมาตุงที่ฝีเย็บและแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ แล้วกระตุ้นให้เบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูกจนศีรษะคลอดให้หยุดเบ่ง ทำการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ
7.กรณีช่วยคลอดด้วยคีมล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยทันที
หลังทำ
1.ประเมิน V/S,การหดรัดตัวของมดลูก,กระเพาะปัสสาวะ และการฉีกขาดของช่องทางคลอด
2.ติดตามผลการตรวจร่างกายมารดาทารก เกี่ยวกับการได้รับบาดเจ็บหรือความผิดปกติจากการใช้คีมช่วยคลอด
3.แนะนำการคลึงมดลุก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
4.แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด และอาการปวดแผลฝีเย็บจากการเกิด hematoma
5.แนะนำเกี่ยวกับการทความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย และเปลี่ยนผ้าอนามัย ป้องกันการติดเชื้อ
6.ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 hr.หลังคลอด
Vacuum Extraction delivery
หัตถการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
1.ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
2.มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
3.Prolong 2 nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 hr. ครรภ์หลังนาน >1 hr.)
4.ผู้คลอดมีโรคประจำตัวหรือภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ควรออกแรงเบ่ง เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
5.ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP)
ข้อห้าม
1.ภาวะ CPD
2.ส่วนนำทารกอยู่สูง
3.ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
4.ทารกมีภาวะ macrosomia
5.ทารก preterm
ุ6.ทารกได้รับการเจาะเลือดศีรษะก่อนคลอด Fetal scalp blood sampling
7.ทารกมีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
8.ทารกมีภาวะ fetal distress
หลักการและวิธีการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
1.การเตรียมผู้คลอด
1.จัดท่า Lithotomy
2.ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝีเย็บ ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
3.ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ
4.สวนปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
5.ให้ยาระงับความรูสึกเฉพาะที่ นิยมใช้ pudendal block ห้ามใช้ยาสลบ
6.ตรวจภายในประเมินท่า ตำแหน่ง occiput หรือ posterior fontanelle การ molding
ไม่ทำกรณีส่วนนำทารกอยู่สูงกว่า ischial spine
2.การใส่ถ้วยสุญญากาศ
1.ทา hibitance cream รอบถ้วย เพื่อหล่อลื่น
2.ใช้มือข้างไม่ถนัดสอดเข้าช่องคลอด ถ่างและกดฝีเย็บ มืออีกข้างจับถ้วยเอียงและสอดด้านข้างของถ้วยเข้าไป พลิกถ้วยกลับติดที่ศีรษะของทารก
3.ให้ถ้วยจับบริเวณ Occiput มากที่สุด โดยการเกาะคร่อม sagittal suture อย่างสมมาตร
4.คลำรอบขอบถ้วยเพื่อตรวจสอบว่าไม่มีส่วนของปากมดลุกหรือผนังช่องคลอดดูดเข้ามาอยู่ในถ้วย
5.เมื่อพร้อมจึงเริ่มทำให้เกิดสุญญากาศ
3.ระยะเวลาในการลดความดัน
1.ค่อยๆลดความดันลง 0.1 กก./ตร.ซม. ทุก 1 นาที หรือ 0.2 กก./ตร.ซม. ทุก 2 นาที จนถึง 0.6-0.8 กก./ตร.ซม.
2.ปกติใช้เวลา 8-10 นาที เพื่อให้เกิด artificial caput succedaneum เต็มที่ ทำให้ cup จับกับศีรษะทารกแน่น ไม่หลุดง่ายเวลาดึง
4.จังหวะ ระยะเวลาและทิศทางในการดึง การตัดฝีเย็บ
1.ดึงพร้อมการหดรัดตัวของมดลูกและการเบ่งของมารดา
2.ขณะมดลูกคลายตัวดึงสายยางไว้เบาๆ
3.เมื่อดึงจนศีรษะตุงที่ฝีเย็บ ให้ตัดฝีเย็บและดึงในอยู่ในแนวราบ
4.เมือศีรษะทารกคลอด จึงปิดเครื่องสุญญากาศ ค่อยๆปลดถ้วยออกและทำคลอดไหล่ ลำตัวตามปกติ
ระยะเวลาในการดึงไม่ควรเกิน 30 นาที นานกว่านี้อาจเกิดอันตรายต่อศีรษะของทารกได้
การพยาบาล
ก่อนทำ
1.อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อน
2.จัดท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและฝีเย็บด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและสวนปัสสาวะ
3.เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ อุปกรณ์สำหรับการให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ และอุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
4.ให้ IV fluid + Oxytocin ตามแผนการรักษา
ขณะทำ
1.ฟัง FHR ทุก 5 นาที/On EFM เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.ให้กำลังใจผู้คลอด
3.ขณะแพทย์ใส่เครื่องดูดสุญญากาศ ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง
4.เมื่อแพทย์วางถ้วยสุญญากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมและต่อสายยางเข้าเรื่องดูดเรียบร้อย จะเริ่มลดความดันจนถึง 0.8 กก./ตร.ซม. พยาบาลต้องจับเวลาในขณะที่เครื่องลดความดัน
5.เมื่อทำการลดความดันครบตามเวลาและได้ความดันที่ต้องการแล้ว ขณะมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งพร้อมกับแพทย์ที่เริ่มดึงด้วยเครื่องสุญญากาศ เมื่อมดลุกคลายตัวดูแลความสุขสบายและกระตุ้นเบ่งซ้ำเมื่อมีการหดรัดตัว
6.หยุดเบ่งขณะตัดฝีเย็บ และเบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูก จนกระทั่งศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่ง ทำการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ และทำคลอดไหล่และลำตัวตามลำดับ
7.กรณีช่วยคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์ C/S ทันที
หลังทำ
1.ประเมิน V/S ,การหดรัดตัวของมดลูก,กระเพาะปัสสาวะและการฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อประเมินภาวะ PPH
2.ติดตามผลการตรวจร่างกายมารดาทารก
3.แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
4.แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด และอาการปวดแผลฝีเย็บจากการเกิด hematoma
5.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังขับถ่าย และเปลี่ยนผ้าอนามัย เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
6.ดูแลให้ได้ IV fluid + Oxytocin อย่างน้อย 2 hr.หลังคลอด
Cesarean section
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ข้อบ่งชี้
1.การคลอดติดขัด (Mechanical dystocia)
2.การคลอดไม่ก้าวหน้า
3.รกเกาะต่ำ
4.ทารกมีภาวะ fetal distress
5.ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
6.มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
7.โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม เช่น HT,DM
8.ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ท่าศีราะทั้งคู่
9.มีประวัติคลอดยาก
10.ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธุ์ ระยะใกล้คลอด
ข้อห้าม
1.ทารกตายในครรภ์ เว้นมีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
2.ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
1.การลงมีดผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง
(Skin incision)
1.การลงมีดในแนวตั้งกลางลำตัว vertical midline incision
2.การลงมีดในแนวขวาง Transverse incision
2.การลงมีดผ่าตัดที่หนังมดลูก
(Uterine incision)
1.การผ่าตัดตามแนวขวางที่บริเวณมดลูกส่วนล่าง
(Low transverse ceasarean section)
2.การผ่าตัดตามแนวตั้งที่มดลูกส่วนล่าง
(Low verticalceasarean section )
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมด้านร่างกาย
1.NPO หลังเที่ยงคืน/ก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 6-8 cm.
2.ฺBed rest
3.ดูแลความสะอาดร่างกาย
4.เตรียมบริเวณผ่าตัดตั้งแต่ใต้ราวนมถึงหน้าขาทั้ง 2 ข้าง
5.ดูแลการได้รับการสวนอุุจจาระในตอนเช้าในตอนเช้าวันผ่าตัด ตรวจเช็คเรื่องฟันปลอม เครื่องประดับ และของมีค่าออกให้หมด
6.เจาะ G/M เตรียมเลือดอย่างน้อย 2 ยูนิต
7.ให้ IV fluid
8.Retained foley's catheter
9.บันทึก V/S และ FHS
เตรียมด้านจิตใจ
1.อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา สาเหตุของการผ่าตัดคลอด
2.อธิบายภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
3.แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและคลายความกังวล
4.เปิดโอกาสให้ผู้คลอดได้ซักถามและระบายความรู็สึก
ขณะทำ
1.ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5-15 นาที
2.สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก เช่นหายใจลำบาก
3.ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ ควรออก >30 cc/hr.
4.หลังทารกคลอดครบ ดูแลการได้รับ Oxytocin ตามแผนการรักษาของแพทย์
หลังทำ
1.ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาทีใน 1 ชม.ที่สอง หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม.จนอาการคงที่
2.ติดตามผลการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บหรือความผิดปกติ
3.ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึมบริเวณที่ก๊อซปิดแผลไว้หรือเปล่า แนะนำไม่ให้แผลโดนน้ำ
4.ประเมินอาการปวดแผลและแนะนำใช้มือประคองแผลเวลาลุกนั่ง ไอ หรือจาม ให้นอนท่า semi-fowler กรณีไม่มีข้อห้าม เพื่อให้หน้าท้องหย่อน หากปวดมากพิจารณาให้ยาบรรเทาปวดตามการรักษา
Version (Internal version,external version)
การหมุนเปลี่ยนทารก
External version : ECV
การหมุนเปลี่ยนทารกจากภายนอก
ข้อบ่งชี้
1.อายุครรภ์ > 37 wks
2.ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ข้อห้าม
1.ครรภ์แฝด
2.สตรีมีครรถ์ที่อ้วนมาก
3.มีความผิดปกติของมดลูก/มีแผลผ่าตัดที่มดลูก
4.ทารกท่าก้น ที่ก้นเคลื่อนลงสู่ช่องเชิงกรานแล้ว
5.Abnormal FHS
6.Uteroplacenta insufficiency
7.Macrosomia
8.Fetal anormoly
9.สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม เช่น HF DM HT
10.สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น รกเกาะต่ำ ลือดออกระหว่างตั้งครรภ์
การพยาบาล
ก่อนทำ
1.อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา ภาวะแทรกซ้อนและขั้นตอนการหมุนเปลี่ยนทารก
2.ให้ NPO อย่างน้อย 8 ชม.ก่ออนทำ
3.เตรียมอุปกรณ์ สถานที่ ให้ถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย และจัดท่านอนหงายราบ
4.ดูแลการได้รับการ ultrasound และ NST
5.ดูแลให้ IV fluid และยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูฏตามแผนการรักษา
6.ประเมิน V/S และ FHR ก่อนการหมุนเปลี่ยนท่า
ขณะทำ
1.ประเมิน FHR ทารกและอาการเจ็บปวดขณะหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะ ถ้า FHR >120 bpm.หรือสตรีปวดมากให้หยุดหมุนเปลี่ยนท่าทันที
2.อยู่่เป็นเพื่อน ลดความวิตกกังวล
หลังทำ
1.ประเมิน FHR ต่ออีก 30 นาที
2.U/S เพื่อยืยันว่าเป็นท่าศีรษะ
3.ตรวจ NST ประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ หากเป็น NR ทำ CST ต่อ หากผลเป็น positive พิจารณายุติการตั้งครรภ์
4.ประเมิน V/S มารดาเป็นระยะๆ
5.ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin
6.ประเมินและให้คำแนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
7.แจ้งผลให้สตรีตั้งครรภ์ทราบและแนะนำการปฏิบัติตัว
Internal podalic version
การหมุนเปลี่ยนทารกภายใน
ข้อบ่งชี้
1.การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ)มีปัญหาต้องคลอดด่วน เช่น fetal distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก เป็นต้น
2.ทารกท่าขวางที่ปสกมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อห้าม
1.เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
2.ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
3.ตกเลือดก่อนคลอด หรือภาวะรกเกาะต่ำ
4.มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
การพยาบาล
ก่อนทำ
เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ไม่ NPO ผู้คลอด
ขณะทำ
อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ ประเมิน FHR และอาการปวดเป็นระยะ
หลังทำ
1.ประเมิน FHR และ V/S ผู้คลอดเป็นระยๆ
2.ช่วยเหลือการช่วยคลอดท่าก้นต่อ เช่นการเตรียม piper forceps สำหรับช่วยคลอดศีรษะทารก พร้อมทั้งช่วยเหลือกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่นการคลอดติดศีรษะ
3.ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ เช่นช่องคลอดฉีกขาด มดลูกแตก รกลอกตัวก่อนกำหนด กระดูกทารหกหัก การบาดเจ็บของศีรษะทารกหรือทารกเสียชีวิตเป็นต้น