Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลของน้ำ อิเล็คโตรไลท์และภาวะกรดด่างในร่างกาย, ุ, K+ and HPO4-…
สมดุลของน้ำ อิเล็คโตรไลท์และภาวะกรดด่างในร่างกาย
น้ำและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย
(FUNCTION OF BODY FLUID )
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆ ไปยังระบบที่เหมาะสม
ใช้ในปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย เช่น การสลาย ATP (adenosine triphosphate ) เพื่อให้ได้พลังงาน
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนนั้น ๆ
น้ำ ( WATER )
น้ำ ( total body fluid ) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกายโดยมีเยื่อกั้นบางๆ (membrane) เป็นตัวแยก : 55-60% ของน้ำหนักตัว
1.น้ำภายในเซลล์
( intracellular fluid ; ICF )
40% ของน้ำหนักตัว
2.น้ำภายนอกเซลล์
( extracellular fluid ; ECF )
20% ของน้ำหนักตัว
น้ำภายในหลอดเลือด ( intravascular fluid หรือ plasma )
5% ของน้ำหนักตัว
น้ำระหว่างเซลล์ ( interstitial fluid )
ซึ่งเป็นน้ำส่วนที่อยู่นอกหลอดเลือด และอยู่ตามช่องว่าง
ระหว่างเซลล์รวมทั้งน้ำที่อยู่ภายในอวัยวะต่างๆ
น้ำระหว่างเซลล์ ( interstitial fluid )
ซึ่งเป็นน้ำส่วนที่อยู่นอกหลอดเลือด และอยู่ตามช่องว่าง
ระหว่างเซลล์รวมทั้งน้ำที่อยู่ภายในอวัยวะต่างๆ
น้ำในลูกตา
น้ำย่อยอาหาร
น้ำไขสันหลัง ( CSF )
15% ของน้ำหนักตัว
ร่างกายได้รับน้ำ 3 ทาง
WATER IN TAKE
( 1500 - 3000 ML )
น้ำดื่มอาหารเหลว น้ำที่ปนในอาหาร (500-1500 ml)
อาหาร เช่น ข้าว เนื้อ ผัก ผลไม้ (800-1000 ml)
เมตาบอลิซึมของร่างกาย
วิธี water of oxidation
หรือ metabolic water (200-500 ml)
ร่างกายสูญเสียน้ำ 2 ทาง WATER OUT PUT
( 1300 - 3000 ML )
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้(insensible perspiration)
ประมาณ 500-800 ml.
ทางผิวหนัง 300 ml
ปอด 300-500 ml.
ขึ้นอยู่กับ
อัตราเมตาบอลิซึม
อุณหภูมิของร่างกาย
ความชื้น
อุณหภูมิของอากาศ
กิจกรรมที่ทำ
อารมณ์
ทางที่ปรับสมดุลได้(insensible perspiration)
ทางเดินอาหาร
ออกไปกับอุจจาระ 100-200 ml.
ผิวหนัง
โดยทางเหงื่อ 0-10 ml. (5000 ml.ถ้าออกกำลังกายหนัก )
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
500-3000 ml.
การดื่มน้ำ
ปริมาณ ADH น้อย (ปัสสาวะมาก)
ปริมาณตัวละลาย (solute) ที่กรองผ่าน glomerulus (ขับuria มากปัสสาวะมาก)
สมรรถภาพของไต
การเสียน้ำทางอื่น (เหงื่อ อำเจียน ท้องเสีย = ขับปัสสาวะออกน้อย)
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
น้ำทุกส่วนมีแรงดันออสโมติก
( OSMOTIC PRESSURE ) เท่ากัน
เป็นกระบวนการแพร่ของโมเลกุลน้ำโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
อาศัยการควบคุม 2 ทาง
การกระหายน้ำ
ควบคุมโดยปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมา ศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
การขับปัสสาวะ
อาศัยไต ควบคุมโดยความเข้มข้น และปริมาตรของพลาสมา
กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ
1.การกระหายน้ำ
ควบคุมโดยปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมา
ศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส(HYPOTHALAMUS)
2.การขับปัสสาวะ
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่ โดยอาศัย ADH
กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
การกรองที่ไต
aldosterone
ADH
ปฏิกิริยาสัมพันธ์ต่อเนื่องของระบบเรนิน แองจิโอเทนซิน
อัลโดสเตอโรน และ ADH เพื่อรักษาสมดุลของน้ำนอกเซลล์
ภาวะขาดน้ำ (Fluid deficit หรือ Dehydration)
ภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ อาจขาดเฉพาะน้ำอย่างเดียวหรือขาดน้ำมากกว่าเกลือ (hypertonic dehydration) ขาดทั้งน้ำและเกลือ (isotonic dehydrationหรือ hypotonic dehydration)
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อยลง ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผู้ที่มีอาการป่วยเป็นหวัดหรือเจ็บคอ
ร่างกายสูญเสียน้ำมำกเกินไป
ปัสสาวะมากผิดปกติ
ผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ที่ใช้ยาขับปัสสาวะ
ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก
เสียทางผิวหนังและปอดเหงื่อออกมากผิดปกติ
ออกกำลังกายเป็นเวลานาน
ผู้ที่ทำงานในสถานที่ที่มีอากาศร้อนชื้น
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1.การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เมื่อร่างกายขาดน้ำจะมีผลทำให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
จึงดึงน้ำจากภายในเซลล์นอกสู่ภายนอกเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นในและนอกเซลล์เท่ากัน
เนื่องจากปริมาตรน้ำในเซลล์มากกว่าน้ำนอกเซลล์ในอัตราส่วน น้ำในเซลล์น้ำนอกเซลล์เท่ำกับ 2:1
ระดับ Hematocrit (Hct) และความตึงของผิวหนังไม่เปลี่ยนแปลง
การตอบสนองของร่างกาย
ปริมาตรน้ำนอกเซลล์ที่ลดลงและความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
มีผลกระตุ้นการหลั่งอัลโดสเตอโรน ADH และกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ
ทำให้ปริมาตรปัสสาวะลดลงน้ำและโซเดียมถูกดูดกลับเพิ่มขึ้น และดื่มน้ำมากขึ้นตามลำดับ
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำที่รุนแรงน้อยถึงปานกลาง
ผิวแห้ง
ช่องปากแห้ง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่าย
ปัสสาวะน้อย
อาการจากขาดน้ำรุนแรง
กระหายน้ำรุนแรง
กระสับกระส่าย
กระหม่อมจะบุ๋มลึก
ผิวหนังแห้งมาก
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
( WATER EXCESS AND WATER IN TOXICATION)
อาจเกิดจาก
การคั่งของทั้งเกลือและน้ำ (isotonic expansion)
การคั่งของน้ำอย่างเดียว (water volume excess)
การคั่งของน้ำมากกว่าเกลือ (hypo-tonic expansion)
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ไตปกติแต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
การตอบสนองของร่างกาย
ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณ
น้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้งการหลั่งADH
อัลโดสเตอโรน ปัสสาวะจึงออกมากขึ้น ร่วมกับกลไกยับยั้งการทำงานของศูนย์กระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลัน
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อุปนิสัยและกิริยา
ท่าทางผิดปกติ กระตุกชัก ความดันเลือดสูง
น้ำหนักตัวเพิ่ม
ม่านตาขยายไม่เท่ากัน ซึม
ไม่รู้สึกตัว รีเฟล็กซ์ไวขึ้น การหายใจหยุด
แบบเรื้อรัง
อ่อนเพลีย
ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เลอะเลือน
พบอาการบวมได้เมื่อผู้ป่วยมีน้ำเกินในส่วนน้ำนอกเซลล์ 3 ลิตร หรือมีน้ำเกิน
ทั้งหมดในร่างกำย 9 ลิตร อาการบวมอาจเกิดทั่วร่างกายหรือเฉพาะที่
ถ้ามีอาการบวมในปอด จะทำให้หายใจลำบาก และ เหนื่อย หอบ ไอมาก
ภาวะกรดด่างในร่างกาย
การควบคุมความสมดุลของกรด-ด่าง
(regulation of acid base balance )
ภาวะปกติ pHในเลือดแดง(arterial blood pH)
มีค่าประมาณ 7.4
ภาวะปกติ pHในเลือดดำ (venous blood pH)
มีค่าประมาณ 7.35
pH ในเลือดดำต่ำกว่าในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดดำมีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่มากกว่าในเลือดแดง
pH ส่วนภายในเซลล์มีค่าเป็น 7.0 ถึง 7.2
ความหมายของคำ
Acidosis
ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นกรดเกิดขึ้น
มีระดับของ pH ในเลือดแดง <7.35
Alkalosis
ภาวะที่ร่างกายมีความเป็นด่างเกิดขึ้น
มีระดับของ pH ในเลือดแดง >7.45
Arterial Blood Gases
วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดงแล้วนำไปหาค่า
Buffer
สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่หรือด่างแก่ลงไปหรือแม้จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
ในสภาวะปกติของร่างกาย
Volatile acid
CO2
Fixed acid
Sulfuric acid
Phosphoric acid
กรดอินทรีย์
lactic acid
acetoacetic acid
butyric acid
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
ในเลือดแดง pH ปกติมีค่า 7.35 - 7.45
ในเลือดดำและในช่องว่างระหว่างเซลล์ pH มีค่าประมาณ 7.35
ภายในเซลล์ pH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0 - 7.4 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
PH ในเลือดแดงมีค่า> 7.45 เรียกว่า alkalosis
pH ในเลือดแดงมีค่า< 7.35 เรียกว่า acidosis
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
Buffer
มีอยู่ทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด-ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาที มีปริมาณจำกัด เมื่อใช้หมดร่างกายจะอาศัยการทำงานของอวัยวะระบบอื่นในการแก้ภาวะเสียสมดุล
เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้
ทำปฏิกิริยากับกรดและด่างเกิดเป็นเกลือของกรดหรือด่างนั้นซึ่งมีสภาพเป็นกลางหรือกรดอ่อน
แบ่งเป็น 4 ระบบ
Bicarbonate- carbonic acid buffer system
ในร่างกายในร่างกาย เช่น plasmaมี pH = 7.4
bicarbonate (HCO3-) = 27 mEq/L.
carbonic acid (H2CO3) =1.35 mEq/L.
สมการ Henderson และ Hasselbach
Buffer ระบบนี้มีความสำคัญที่สุดในเลือดเนื่องจาก
มีปริมาณมากที่สุดในเลือด
มีประสิทธิภาพมากที่สุด
Phosphate buffer system
เป็น buffer ที่สำคัญในเซลล์มากกว่าในเลือดเนื่องจากมีอยู่ในเซลล์จำนวนมากโดยเฉพาะใน Red blood cell และ renal tubule cell
Protein buffer system
พบทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ โดยส่วนใหญ่พบในเซลล์ มีประจุลบ จึงเป็น buffer ที่มีความสำคัญในเซลล์
Hemoglobin buffer system
Haemoglobin เป็น buffer ที่สำคัญมากในเซลล์เนื่องจากจะรวมกับ H+ กลายเป็นHHb และรวมตัวกับเป็น CO2 เป็น HHbCO2
ระบบหายใจ ปอด
ควบคุมอัตราการกำจัด CO2 ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง carbonic acid (H2CO3)
ไต
ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H+ ในปัสสาวะมีประสิทธิภาพในการควบคุมกรดด่างมากที่สุดแต่ต้องใช้เวลาหลายวัน
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยระบบหายใจ
สามารถปรับ pH ภายใน 1- 5 นาทีให้ผลสูงสุดที่ 12 - 24 ชั่วโมง
การควบคุม pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50- 75%
ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 H+ที่เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อกำจัด CO2 ทำให้pH สูงขึ้น
ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 H+ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
การควบคุมภาวะกรด-ด่างโดยไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-volatile acid
non-volatile acid จาก protein
amino acid ที่มี sulfuric
phosphoric acid
non-volatile acid จาก lipid
keto acid
non-volatile acid จาก carbohydrate
lactic acid
pyruvic acid
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่าง
การดูดซึมกลับของ bicarbonate
การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
การขับ H+ ด้วยการสร้างเกลือแอมโมเนีย
ในภาวะที่ร่างกายเป็นกรด
มีการขับถ่าย titratable acid และเกลือแอมโมเนียเพิ่มขึ้น
ในภาวะที่ร่างกายเป็นด่าง
การขับ H+ และดูดซึม bicarbonate กลับจะลดลง
มีการขับ bicarbonate ในปัสสาวะ
การสร้าง titratable acid และเกลือแอมโมเนียน้อยลง
ความผิดปกติของสมดุลกรดด่าง
Primary metabolic acidosis
เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
Primary metabolic alkalosis
มีการสะสม bicarbonate ในร่างกายเกิดการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
Primary respiratory acidosis
ลดการหายใจ CO2 สูงขึ้น pH ลดลง
Primary respiratory alkalosis
เพิ่มการหายใจ CO2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น
วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการตรวจวัด Arterial Blood Gas (ABGs)
pH
7.35-7.45
บอกความเข้มข้นของ H+
PCO3
35-45 mm.Hg.
วัดแรงดันของ CO2 ชึ่งบ่งบอกถึงความเข้มข้นของ caEbonics acid (H2CO3 )ในเลือด
HCO3-
22-26 mEq/L.
บอกความเข้มข้นของ bicarbonate (HCO3-)
BE (Base exess)
ด่างที่เป็น buffer ในเลือด (Blood buffer base)ที่มีค่าเป็น +มากแสดงว่ามีด่างในเลือดมาก
PO2
80-100 mm.Hg.
วัดแรงดันของ O2 ในเลือดแดง บ่งบอกถึงความเข้มข้นของ O2 ในเลือด
อิเล็คโตรไลท์ (Electrolytes)
คือ
สารเมื่อละลายในสารละลายแตกตัวเป็นไอออน
เปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าเมื่อละลายในน้ำ
อิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
เกลือ เช่น Nacl และ Kcl ในสารละลายที่เป็นน้ำแยกออกจากกัน
ประจุไอออน Na+ และ Cl เรียกว่าอิเล็คโตรไลท์
ความเข้มข้นของอิเล็คโตรไลท์เหล่านี้แสดงเป็น mEq/L.
ประเภทของอิเล็คโตรไลท์
CATION
ประจุ+
ANION
ประจุ-
การกระจายของอิเล็คโตรไลท์ภายในและภายนอกเซลล์
INTRACELLULAR
Electrolytes : ICF
Phosphorous
Potassium
Magnesium
Total Anions 155 mEq/L.
นอกเซลล์
Total Cations195 mEq/L.
ในเซลล์
EXTRACELLULARElectrolytes :ECF
Sodium
Chloride
Bicarbonate
Total Cations 155 mEq/L.
นอกเซลล์
Total Anions195 mEq/L.
ในเซลล์
เพื่อรักษาความเป็นกลางทางไฟฟ้าในช่องของเหลวแต่ละช่อง
Number Cations =Number Anions
หน้าที่ของอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
(Functions Of Body Electrolytes)
อิเล็คโตรไลท์กระจายตัวได้ดีในส่วนต่างๆร่างกาย
อิเล็คโตรไลท์ในตัวกลาง ช่องผลิตแรงดันออสโมติก
แรงดันออสโมติกช่วยรักษาสมดุลของน้ำ
ELECTROLYTES
Na+เป็นอิเล็คโตรไลท์ที่อยู่นอกเซลล์มากที่สุด
K+มีผลต่อระบบประสาทในเมมเบรนที่ปกติ
Cl-เกี่ยวข้องกับกรด-ด่างและออสโมติกเพรสเชอร์
Ca2+
ส่งเสริมแรงกระตุ้นเส้นประสาทและการยืดกล้ามเนื้อ/การผ่อนคลาย
Mg2+
มีบทบาทในคาร์โบไฮเดรตและเมตาบอลิซึมของโปรตีนเป็น สิ่งสำคัญในการทำงานของหัวใจ เส้นประสาท และกล้ามเนื้อ
Sodium Imbalance
Hyponatremia
คือ
ระดับซีรัมโซเดียมน้อยกว่า 135 มิลลิโมล/ลิตร
สาเหตุ
เกิดจากความสามารถในการขับสารน้ำ (Free water) ของไตนั้นผิดปกติไปหรือทำได้ไม่เพียงพอ
เกิดจากการสูญเสียโซเดียม
อาการ
สมองบวมน้ำ
(Hyponatremic encephalopathy)
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
ซึมลง
Hypernatremia
คือ
ระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 150 มิลลิโมล/ลิตร
ผู้ป่วยวิกฤตมีโอกาสที่จะเกิดภาวะโซเดียมสูงในเลือด
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการทางประสาท
สับสน
ซึม
ตรวจร่างกายจะพบผิวหนังตึงๆหยุ่นๆคล้ายก้อนแป้ง (doughy skin)
หลักการรักษาภาวะไม่สมดุลของโซเดียม
Hyponatremia
รักษาสาเหตุ
สูญเสียโซเดียมจาก Diuretic,GI loss
ได้รับน้ำมากเกินไป
ได้รับยาที่มีผลต่อไตในการขับน้ำปัสสาวะ
ทดแทนโซเดียมที่ขาดโดยการรับประทาน หรือ IVF ด้วยNSS หรือ 3-5% Saline
Hypernatremia
รักษาสาเหตุถ้าเกิดจากการขาดน้ำ
ลดปริมาณเกลือโซเดียมจากจำกัดอาหารที่มีโซเดียมสูง
Sodium (Na)
Normal rang : 135-145 mEq/L.
Potassium Imbalance
Hyperkalemia
คือ
ภาวะที่โพแทสเซียมในเลือดมากกว่า 5 มิลลิโมล/ลิตร
อาการ
โพแทสเซียมสูง
( Hyperkalemia)
หายใจลำบาก
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
เกิดน้ำคั่งในร่างกาย
โพแทสเซียมต่ำ
(Hypokalemia)
ซึม
อ่อนเพลีย
คลื่นไส้ เบื่ออาหาร
ตะคริว
Hypokalemia
คือ
ระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 3.5 มิลลิโมล/ลิตร
สาเหตุ
การได้รับโพแทสเซียมไม่เพียงพอ
การสูญเสียไปทางปัสสาวะหรือทางระบบทางเดินอาหารและการที่โพแทสเซียมย้ายเข้าสู่เซลล์
อาการ
เกี่ยวข้องกับระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
Calcium Imbalance
Hypocalcemia
สาเหตุ
บ่อยได้แก่ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
ภาวะไตล้มเหลวทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง
การติดเชื้อในกระแสเลือดซึ่งเชื่อว่าอาจจะเป็นกลไกของร่างกายที่จะป้องกันการบาดเจ็บของเซลล์ในภาวะที่มีการอักเสบ
อาการ
กรณีที่มีแคลเซี่ยมในเลือดต่ำอย่างรุนแรง
tetany
ชัก
ภาวะแคลเซี่ยมในเลือดต่ำเรื้อรังอาจมีความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
Hypercalcemia
ความเข้มข้นของแคลเซียมในพลาสม่ามากกว่า 10.5 มก.% เมตรเปอร์เซ็นต์
สาเหตุ
การละลายแคลเซี่ยมจากกระดูกเพิ่มขึ้น
Hyperparathyroidism
Hyperthyroidism
Multiple myeloma
มะเร็งที่แพร่กระจายไปกระดูก
การรับประทานหรือมีการดูดซึมแคลเซียมมากเกินไป
กลุ่มอาการ milk alkali
พิษจากวิตามินดี
Sarcoidosis
Idiopathic infantile hypercalcemia
ภาวะไตวาย
ระยะปัสสาวะมากในภาวะไตวายเฉียบพลัน
ได้รับการเปลี่ยนไต
Phosphate Imbalance
Hypophosphatemia
ระดับซีรัมฟอสเฟตที่น้อยกว่า 2.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การหายใจล้มเหลว
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ
Hyperphosphatemia
ภาวะนี้เกิดเมื่อวัดระดับฟอสเฟตในซีรัมได้มากกว่า 5 มิลลิกรัม/ลิตรลิตร
สาเหตุ
การได้รับอาหารที่มีฟอสเฟตมาก
การปล่อยฟอสเฟตจากเซลล์
การขับถ่ายทางไตน้อยลง
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะไตวายเรื้อรัง
hypoparathyroidism
Pseudohypoparathyroidism
Magnesium Imbalance
Hypomagnesemia
ซีรัมแมกนีเซียมที่น้อยกว่า 1.7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
สาเหตุ
การสูญเสียแมกนีเซียมไปในระบบทางเดินอาหารหรือทางปัสสาวะ
อื่นๆ
การติดเชื้อในกระแสเลือด
การได้รับเลือดที่มี citrate
การติดสุราเรื้อรัง
Hypermagnesemia
ไตล้มเหลวทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง (Acute and chronic renal failure)
ทำให้ความสามารถของไตในการขับ K+ลดลง
สมรถภาพของต่อมหมวกไตเสื่อม
( adrenal insufficiency)สร้างได้ไม่พอกับความต้องการ
การให้แมกนีเซียมในหญิงตั้งครรภ์
ขณะให้แมกนีเซียมรักษาภาวะร่างกายมีแมกนีเซียมน้อยไปในผู้ป่วยโรคไต
ุ
K+ and HPO4- respectively.
Na+ and Cl- respectively.
Potassium (K)
Normal Level 3.5-5 mEq/L.
Calcium
Normal Level 4.5-5.5 mEq/L.
Phosphorus (P)
Normal Level 2.5-4.5 mg/dL.
Magnesium (Mg)
Normal Level 1.5-2.5 mEq/L.