Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์เเละภาวะกรดด่างในร่างกาย - Coggle Diagram
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์เเละภาวะกรดด่างในร่างกาย
สมดุลน้ำ
Function of body Fluid
hydrostatic pressure เเรงดันของน้ำ โดยอาศัยการบีบตัวของหัวใจทำให้น้ำจากเส้นเลือดฝอยออกไปยังอวัยวะหรือเซลล์ต่างๆ
oncotic pressure เเรงเคลื่อนของโปรตีน อาศัยโปรตีนเป็นตัวพาส่วนมากเป็น albumin ช่วยในการพาน้ำจากอวัยวะต่างๆ กลับเข้าเส้นเลือดฝอยเเละเคลื่อนที่ตามเส้นเลือดดำ การควบ T ของร่างกายโดยอาศัยคุณสมบัติที่น้ำมีความจุความร้อนสูง จึงทำให้ Tของร่างกายเปลี่ยนเเปลงได้ช้า เเละเปลี่ยนเเปลงไม่มาก
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ช่วนในการดูดซึมเเละเเพรากระจายของสารต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆ ไปยังระบบที่เหมาะสม
ใช้ในปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย เช่น การสลาย ATP(adenosine triphosphate ) เพื่อให้ได้พลังงาน
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนนั้นๆ
Water
total body fluid
2 ใน 3 ของร่างกาย
membrane
เป็นตัวเเยก 55-60% ของน้ำหนักตัว
intracellular fluid ; ICF
40%ของน้ำหนักตัว
extracellular fluid ; ECF
20%ของน้ำหนักตัว
intravascular fluid ( plasma)
5% ของน้ำหนักตัว
interstitial fluid
เป็นน้ำที่อยู่นอกหลอดเลือด เเละอยู่ตามช่องว่างระหว่างเซลล์ เช่น น้ำในลูกตา น้ำย่อยอาหาร น้ำไขสันหลัง CSF 15% ของน้ำหนักตัว
ร่างกายได้รับน้ำ 3 ทาง
น้ำดื่ม อาหารเหลว น้ำที่ปนในอาหาร500-1500 ml
อาหาร เช่น ข้าว เนื้อ ผัก ผลไม้ 800-1000 ml
เมตาบอลิซึมของร่างกายwater of oxidation หรือ metabolic water200-500 ml
ร่างกายสูญเสียน้ำ 2 ทาง
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ insensible
perspiration
ทางผิวหนัง 300 ml
ทางปอด 300-500 ml
ทางที่ปรับสมดุลได้ insensible perspiration
ทางเดินอาหารออกไปทางอุจจาระ 100-200 ml
ผิวหนังโดยทาง เหงื่อ 0-10 ml
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 500-3000 ml
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำ ควบคุมโดย ปริมาตรน้ำ เเละความเข้มข้นของพลาสมา ศูนย์กระหายน้ำใน Hypothalamus
สมองส่วน hypothalamus ควบคุมปริมาณน้ำในเลือด ถ้าร่างกายขาดน้ำมากจะทำให้เลือดเข้มข้นกว่าปกติ เกิดการกระหายน้ำ ส่งผลให้สมองส่วนhypothalamus ไปกระตุ้นปลายประสาทต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งฮฮร์โมน เเอนติไดยูติก หรือ ADH (anidiuretic hormone) เข้าสู่กระเเสเลือด
ADH ไปกระตุ้นท่อหน่วยไตให้ดูดน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือด ทำให้น้ำในปริมาณหลอดเลือดสูงขึ้น ลดความกระหายน้อยลง
ถ้าเลือดเจือจาง hypothalamus จะยับยั้งการสร้าง ADH ทำให้การดูดคืนน้ำน้อย ปริมาณน้ำในร่างกายจึงอยู่ในสภาวะสมดุล
การขับปัสสาวะ อาศัยไต ควบคุมโดย ความเข้มข้น เเละปริมาตรของพลาสมา
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาคงที่ โดยอาศัย ADH
กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ
การกรองที่ไต
aldosteron
ADH
Fluid deficit
ภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ
(hypertonic dehydration) ขาดน้ำมากกว่าเกลือ
isotonic dehydration หรือ hypotonic dehydration ขาดทั้งน้ำเเละเกลือ
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อยลง ดื่อมน้ำน้อยเกินไป
2.ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
ปัสสาวะมากผิดปกติ
เสียทางผิวหนังเเละปอดมากผิดปกติ
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ ( WAT E R
E X C E S S A N D WAT E R I N T O X I C AT I O N)
การคั่งของเกลือเเละน้ำ (isotonic expansion)
การคั่งของน้ำอย่างเดียว (water volume excess)
การคั่งของน้ำมากกว่าเกลือ (hypo-tonic expansion)
กรณีที่มีการคั่งของน้ำอย่างรุนเเรงจะทำให้เกิดภาวะพิษของน้ำ waterintoxication พบได้ในภาวะไตวาย
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอุดกลั้นทางเดินปัสสาวะ
ไตปกติเเต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนเเปลงที่ระดับเซลล์
การตอบสนองของร่างกาย
อาการเเละอาการเเสดง
เเบเฉียบพลัน
เเบบเรื้อรัง
sodium imbalance
Hyponatremia
Hyponatremia ภาวะที่มีซีรั่มโซเดียมน้อยกว่า 135 mEq/L เป็นความผิดปกติของอิเล็กโทรไลต์ที่พบบ่อยในเด็ก สาเหตุหลักคือมี free water เพิ่มขึ้น ซึ่งผู้ป่วยอาจมี hypovolemia ปริมาตรของ ECลดลง หรือมี normovolemia จากการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้นอย่าง inappropriate หรือมี hypervolemia เนื่องจาก effective circulatory volume ลดลงและมีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้นอย่าง appropriate
สาเหตุ
เกิดจากความสามารถในการขับสารน้ำ free water ของไตนั้นผิดปกติไปหรือทำได้ไม่พอเพียง เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว การติดเชื้อในกระเเสเลือด ความดันโลหิตต่ำ หรือ การล้มเหลวของอวัยวะระบบต่างๆ multiorgans system failure จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการกรองที่หน่วยไต glomerula filtration rate,GFR ทำให้ท่อไตส่วนต้น proximal tubule มีการดูดกลับของสารน้ำ เเละเกลือโซเดียมมากขึ้น
เกิดจากการสูญเสียโซเดียม เช่น สูญเสียโซเดียมทางปัสสาวะจำนวนมากในภาวะ diuretic phase ของ acute tubular necrosis หรือ cerebral salt wasting CSW
อาการ
สมองบวมน้ำ Hyponatremic ancephalopathy เช่น คลื่นไส้อาเจียน สับสน เพลียไม่มีแรง กระสับกระส่าย กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเป็นตะคริว ชักหมดสติ โคม่า
Hypernatremia
โซเดียมในเลือดสูง (Hypernatremia) คือ ภาวะที่ร่างกายมีเกลือแร่โซเดียมในเลือดสูงกว่าค่าปกติของห้องปฏิบัติการนั้นๆ ในที่นี้คือสูงกว่า 145 mmol/L (Millimoles/Liter) หรือ 145 mEq/L (Milliequivalent/Litre) ซึ่งค่าปกติจะอยู่ในช่วงประมาณ 135 - 145 mmol/Lโดยอาการจะปรากฏรุนแรงเมื่อค่าสูงกว่า 157 mmol/L
ซึ่งถ้าสูงมากกว่า 180 mmol/L ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิต(ตาย) ได้จากสมองบวมหรือมีเลือด ออกในกะโหลกศีรษะ
อาการ
เป็นผลจากค่าออสโมลาลิตีในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้น้ำในส่วน intracellula compartment เคลื่อนเข้าสู่ extracellula compartment ส่งผลให้เซลล์ในปริมาตรลดลง โดยเฉพาะในระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ป่วยจะมีอาการทางระบบประสาท เช่น สับสน ซึม ชัก ตรวจร่างกายจะพบผิวหนังตึงๆ หยุ่นๆ คล้ายก้อนเเป้ง doughy skin
regulation of acid base balance
ในภาวะปกติ pH ในเลือดเเดง arterial blood pH มีค่าประมาณ 7.4เเละ pH ในเลือดดำ venous blood pH มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดำต่ำกว่าในเลือดเเดง เนื่องจาก ในเลือดดำมีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่
ในสภาวะปกติของร่างกาย metabolism ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร เเละกรด
Volatien acid
Fixed acid
3.กรดอินทรีย์
สิ่งที่ช่วยควบคุมภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
Buffer
มีอยู่ทั้งในเเละนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด-ด่าง ให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาที มีปริมาณจำกัด เมื่อใช้หมดร่างกายจะอาศัยระบบอื่นในการเเก้ภาวะเสียสมดุล
เป็นสารเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้
ทำปฏิกิริยากับกรดเเละด่าง เกิดเป็นเกลือ หรือ กรดด่างนั้น มีสภาพเป็นกลางหรือกรดอ่อน
Bicarbonate-cabonic acid buffer system 2. Phosphate buffer system 3. Protein buffer system 4. Haemoglobin buffer system
ระบบหายใจปอด
ควบคุมอัตราการกำจัด คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย
การควบคุมภาวะกรด-ด่าง โดยระบบหายใจ
สามารถปรับ pH ใน 1-15 นาที ให้ผลสูงสุดที่ 12-24 ชม.
การควบคุม pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50-75 %
ไต
ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H+ ในปัสสาวะ
การควบคุมภาวะกรด-ด่าง โดยทางไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-valatile acid
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
primary metabolic acidosis เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
primary metabolic alkalosis มีการสะสม bicarbonate ในร่างกาย เกิดจากการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
primary respiratory acidosis ลดการหายใจ co2 สูงขึ้น pH ลดลง
primary respiratory alkalosis เพิ่มการหายใจ co2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น
potassium imbalance
Hypokalemia
อาการ
มักเกี่ยวข้องกับระบบประสาทเเละกล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือปวดเกร็ง ท้องผูก อ่อนล้า เป็นเหน็บชา
สาเหตุ
การได้รับโพเเทสเซียมไม่เพียงพอ การสูญเสียไปทางปัสสาวะหรือทางระบบทางเดินอาหาร เเละ การที่โพเเทสเซียมย้ายเข้าสู่เซลล์
คือ ค่าซีรั่มโพเเทสเซียมน้อยกว่า 3.5 มิลลิโมล/ลิตร
Hyperkalemia
คือภาวะที่โพเเทสเซียมมากกว่า 5 มิลลิโมล/ลิตร
การบาดเจ็บต่อไต โดยเฉพาะที่ GFR น้อยกว่า 15 ซีซี/นาที/1.73 ตารางเมตรของพื้นที่ผิวกาย การทำงานของต่อมหมวกไตบกพร่อง การพร่องฮอร์โมนอินซูลิน เเละการบาดเจ็บด้วยอุบัติเหตุอย่างรุนเเรงมักเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤติ รวมถึงยาหลายๆชนิด
calcium imbalance
คือ ภาวะที่ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน อาจเกิดขึ้นได้หากร่างกายสูญเสียแคลเซียมปริมาณมาก หรือร่างกายไม่สามารถดูดซึมแคลเซียมจากอาหารได้อย่างเพียงพอ ซึ่งอาจทำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมา โดยเฉพาะโรคกระดูกพรุนหรือภาวะกระดูกบาง เนื่องจากแคลเซียมจำเป็นต่อระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ฟัน และอวัยวะอื่น ๆ
Hypocalcemia นั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบได้บ่อย คือ ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์ต่ำ เพราะฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid Hormone) จะทำหน้าที่ควบคุมระดับแคลเซียมในเลือด ซึ่งภาวะดังกล่าวอาจเกิดจากพันธุกรรม เป็นผลมาจากการผ่าตัดต่อมไทรอยด์ หรือการป่วยเป็นมะเร็งบริเวณศีรษะและคอ
อาการ
เวียนศีรษะ
เป็นตะคริว กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก
เห็นภาพหลอน หรือมีอารมณ์เปลี่ยนแปลง เช่น รู้สึกวิตกกังวล สับสน ซึมเศร้า หงุดหงิด เป็นต้น
มีอาการชา เสียวหรือปวดคล้ายถูกเข็มแทงตามใบหน้า ปาก มือ หรือเท้า
สั่น หรือทรงตัวลำบาก
กระดูกหักง่าย
มีปัญหาเกี่ยวกับความจำ
หัวใจเต้นช้า
ชัก
Hypercalcemia
ป็นภาวะที่อาจทำให้กระดูกของผู้ป่วยอ่อนแอลง ทำให้เกิดนิ่วในไต และส่งผลต่อการทำงานของสมองและหัวใจได้ เนื่องจากมีระดับแคลเซียมในเลือดสูงกว่าปกติ โดยภาวะนี้มักเกิดจากต่อมพาราไทรอยด์ทำงานมากเกินไป หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น การใช้ยาบางชนิด การบริโภคแคลเซียมหรือวิตามินดีเสริมมากเกินไป โรคมะเร็งหรือการเจ็บป่วยอื่น ๆ เป็นต้น ซึ่งการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะนี้
สาเหตุ
การละลายเเคลเซียมจากกระดูกเพิ่มขึ้น
การรับประทานหรือมีการดูดซึมเเคลเซียมมากเกินไป
ภาวะไตวาย
phosphate imbalance
ระดับซีรั่มน้อยกว่า 2.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนเเรง เดินเซ สับสน ชัก ซึม การหายใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ จนถึงภาวะหัวใจเต้นผิดปกติได้
ระดับฟอสฟอรัสสูงเกินไป
ผู้ที่ประสบภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง (Hyperphosphatemia) มักไม่มีอาการใด ๆ ปรากฏ แต่บางครั้งอาจแสดงอาการของภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (Hypocalcemia) เช่น ปวดกล้ามเนื้อ ชักกระตุก รู้สึกชารอบปาก ปวดกระดูกและข้อต่อ รู้สึกคัน และมีผื่นขึ้นตามร่างกาย นอกจากนี้ บางรายที่ป่วยเป็นโรคไตอาจมีภาวะของเสียคั่งในเลือด (Uremic Symptoms) ร่วมด้วย โดยจะรู้สึกอ่อนเพลีย หายใจไม่อิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน และมีปัญหาในการนอน