Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ
Breech delivery
การคลอดทารกท่าก้น (Breech delivery) ต่างจากการคลอดท่าศีรษะ เนื่องจากต้องใช้ความเชียวชาญและความระมัดระวังสูง พบได้ร้อยละ 3 – 4 ของการคลอด
Breech presentation
Frank breech presentation คือ ข้อสะโพกงอ ข้อเข้าทั้ง 2 ข้างเหยียดตรง ขาแนบไปกับลาตัวและอก พบได้ร้อยละ 60 – 70
Incomplete breech presentation คือ ข้อสะโพกหรือเข่า ข้างใดข้างหนึ่งหรือ 2 ข้าง งอไม่เต็มที่ทำให้ขาของทารกอยู่ต่ำกว่าสะโพก พบได้ร้อยละ 25 – 35
Complete breech presentation คือ ข้อสะโพกและเข่าทั้ง 2 ข้างงอ เหมือนท่านั่งขัดสมาธิ พบได้ร้อยละ 5
วิธีการคลอดท่าก้น
1.Spontaneous breech delivery
ผู้คลอดออกแรงเบ่งคลอดทารกออกมาเอง ผู้ทาคลอดช่วยพยุงลาตัวทารกตามกลไกธรรมชาติ
2.Breech assisting delivery (partial breech extraction)
คือ การทาคลอดท่าก้นโดยผู้ทาคลอดช่วยดึงทารกออกมา
3. Total breech extraction
คือ การช่วยคลอดทุกส่วนของทารกท่าก้น โดยการดึงทารกทั้งตัวออกมาทางช่องคลอด ตั้งแต่ก้นยังอยู่ในระดับ pelvic floor หรือ สูงกว่านี้
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S ,การหดรัดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ, การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด - ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดหรือไม่
แนะนำการคลึงมดลูกแก่มารดา
ไม่กลั้นปัสสาวะ
ให้มารดาสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอด อาการแสดงของการตกเลือด อาการปวดแผลฝีเย็บ
แนะนาเรื่องการเปลี่ยนผ้าอนามัย การทาความสะอาดทุกครั้งหลังการขับถ่ายเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
Version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารก (version) เป็นหัตถการที่ทามานาน แต่ปัจจุบันไม่นิยมทา ทาเมื่อกรณีเด็กเป็นท่าก้น และแพทย์ประมินอย่างละเอียดแล้วว่าช่องเชิงกรานและศีรษะทารกไม่มีการผิดสัดส่วน แบ่งเป็น 2 ชนิด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก (externalcephalic version : ECV)
ข้อบ่งชี้
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ข้อห้าม
สตรีมีครรภ์ที่อ้วนมาก
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
สตรีมีครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การพยาบาล
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวดขณะทาการหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะๆ >> FHS > 120 ครั้ง/นาที หรือ สตรีมีอาการเจ็บปวดมากให้หยุดการหมุนเปลี่ยนท่าทันที
อยู่เป็นเพื่อสตรี เพื่อลดความกลัวและความกังวล
ตรวจ NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ หากเป็น NR >> ทา CST ต่อ หากผลเป็น positive พิจารณายุติการตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin (anti-D immune globulin)
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายใน (internal podalic version)
หัตถการนี้ค่อนข้างอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ ปัจจุบันทาน้อยมาก
ข้อบ่งชี้
การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ) มีปัญหาต้องคลอด่วน เช่น fetal distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก เป็นต้น
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อห้าม
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
ส่วนนาทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
ตกเลือดก่อนคลอด หรือ มีภาวะรกเกาะต่ำ
มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
การพยาบาล
ก่อนทำ >> เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ ไม่ NPO ผู้คลอด
ขณะทำ >> อยู่เป็นเพื่อน ให้กาลังใจ + ประเมิน FHS และอาการปวดเป็นระยะ
หลังทำ >>
3.1. ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะๆ
3.2 ดูแลช่วยเหลือการชวยคลอดท่าก้นต่อ เช่น การเตรียม piper forceps สาหรับช่วยคลอดศีรษะทารก พร้อมทั้งช่วยเหลือกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น การคลอดติดศีรษะ
3.3 ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ เช่น ช่องทางคลอดฉีกขาด มดลูกแตก , รกลอกตัวก่อนกาหนด กระดูกทารกหัก การบาดเจ็บของศีรษะทารก หรือทารกเสียชีวิต เป็นต้น
Induction of labor
การชักนาการคลอดหรือการกระตุ้นคลอด
หมายถึง การทาให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดโดยเทคนิคต่างๆ ในขณะที่ยังไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข้อบ่งชี้
Postterm pregnancy
Premature rupture of membrane
Preeclampsia, eclampsia
Gestational hypertension
Chorioamnionitis
Fetal demise
Abruption placenta
ข้อห้าม
Vasa previa
Placenta previa
Transverse fetal lie
Umbilical cord prolapse
Previous classical cesarean delivery
วิธีการชักนาการคลอด
การใช้ prostaglandin >> ทาให้ปากมดลูกนุ่ม เปิดขยายและกระตุ้นให้มดลูกมีการหดรัดตัว
การใช้ Oxytocin
Amniotomy
Membrane stripping/sweeping
Breast stimulation
Complication จากการใช้ Oxytocin และ Prostaglandins
1.Tachysystole
2.Uterine rupture
3.Failed induction
Side effects
Oxytocin
Hyponatremia อาการก็คือ ปวดศีรษะ คลื่นไส้
Hypotension
Prostaglandins*ไข้ หนาวสั่น อาเจียน และ ถ่ายเหลว
การพยาบาล
1.เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา
2.อธิบายวัตถุประสงค์การให้ยา
3.ให้ยาแก้ผู้คลอด โดยพิจารณาจากการหดรัดตัวของผู้คลอด
4.ประเมิน Contraction หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไปทุก 30 นาที และทุกครั้งก่อน/หลังการปรับหยด 2 – 3 นาที
5.ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที โดยเพิ่มครั้งละ 1 – 2 มิลลิยูนิต/นาที (Duration = 40 – 60 นาที, Interval = 2 – 3 นาที )
6.ฟัง FHS ทุก 30 นาที
7.ดูแลใกล้ชิด หากได้รับยาเกิน 24 ชม. ให้สังเกต Bandl’s ring ความดันโลหิตต่ำ ภาวะสารน้าเป็นพิษ คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย
8.ระยะหลังคลอด ดูแลการได้รับยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน PPH