Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
respiratory failure (การหายใจวาย)
Hypoxemic Hypoxia PaO2 ต่ำ
Anemic Hypoxia Hb ต่ำซีด
Circulatory Hypoxia ระบบไหลเวียนล้มเหลว
Histotoxic Hypoxia มี O2 มากแต่ Cellใช้ O2 ไม่ได้
Demand Hypoxia ไข้ Metabolism สูง
ประเภทของเครื่องช่วยหายใจ
Invasive Ventilation
ข้อบ่งชี้ในการพิจารณาช่วยหายใจแบบ Invasive
Ventilator
•ต้องการ ventilator support > 16 hr/day
•มีเสมหะมากและไม่สามารถควบคุมได้
•มีความบกพร่องในการกลืนและมีการสำลักอาหารเรื้องรัง ส่งผลให้เป็น pneumonia บ่อยๆ
•ไม่ตอบสนองต่อการหายใจแบบ NIV หรือมีใบหน้าผิดรูป
Noninvasive ventilator
ข้อบ่งชี้ในการพิจารณาช่วยหายใจแบบ
Noninvasive Ventilator
•มี CO2 คั่งในเลือดตอนกลางวันหรือตอนตื่นอย่างน้อย 50 มม.ปรอท
•มี CO2 คั่งในเลือดในตอนตื่นหรือตอนนอน
เพียงเล็กน้อย 45-50 มม.ปรอท แต่มีอาการเช่น ปวดศีรษะช่วงตื่นนอน นอนกระสับกระส่ายปัสสาวะรดที่นอน
•หายใจช้าหรือพร่องออกซิเจนในเวลานอน ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เป็นต้น
ส่วนประกอบทั่วไปของเครื่องช่วยหายใจ
ระบบสัญญาณเตือนอันตราย (Alarm Setting)
Waveform
ตัวควบคุมความชื้นและอุณหภูมิ (Heated Humidifier)
ส่วนที่ปรับตั้งค่า (Setting)
ระยะการหายใจในเครื่องช่วยหายใจ
ระยะหายใจเข้า
ระยะหายใจออก
ระยะเริ่มหายใจเข้า
ระยะหายใจออก
ระยะสิ้นสุดการหายใจออก
โหมดเครื่องช่วยหายใจที่ใช้บ่อย
CMV (Control mechanical ventilation )
Assist-Control Ventilation (A/C)
Partial Ventilatory Support (PVS)
Volume control ventilation (VCV)
Full Ventilatory Support (FVS)
Pressure control ventilation (PCV)
การตั้งเครื่อง
Expiratory trigger sensitivity (ETS)
ค่าต่างๆที่ใช้ในการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
• FiO2 : 0.21-1.00 (ควรน้อยกว่า 0.6 )
• Tidal volume :8-10 ml/kg , ARDS 6-8 ml/kg
• Minute volume : (TV x RR)
• Respiratory rate : 12-16/min
• I:E ratio 1 : 1.5 – 2
Triggering
Pressure :-1 ถึง -2 cmH2O
Flow : 2-3 l/min
PEEP
3-5 cmH2O
Alarm
Pressure : 5-10 cmH2O
Volume : ควรตั้งให้เหมาะสม ประมาณ+- 15-20% ของค่าที่ใช้
Pressure support (PS)
การดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
ควรมีการประเมินการดูแลผู้ป่วย
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
การตั้งเครื่องเหมาะสมกับผู้ป่วยหรือไม่
การดูแลขณะผู้ป่วยใช้เครื่องเหมาะสมหรือไม่
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความพร้อมก่อนการถอดท่อช่วยหายใจ
การดูแลระยะก่อนถอดท่อช่วยหายใจ
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มที่เพื่อให้กล้ามเนื้อหายใจได้พัก
ควรถอดท่อช่วยหายใจเวลาเช้า เนื่องจากบุคลากรมีจำนวนมากสามารถสังเกตอาการได้ใกล้ชิด
ให้งดน้ำและอาหารผู้ป่วยอย่างน้อย 4 ชม.เพื่อป้องกันการส าลัก หากจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจใหม่
ถ้าผู้ป่วยมีปัญหา bronchospasm ควรให้ยาขยายหลอดลมพ่น 15นาที ก่อนถอดท่อ
เตรียมอุปกรณ์ เช่น หน้ากาก (face mask) ออกซิเจน ท่อออกซิเจน(corrugated tube) ให้พร้อม
การดูแลขณะถอดท่อช่วยหายใจ
ให้ดูดเสมหะทั้งในหลอดลมและในปากให้หมด
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนศีรษะสูง 45 องศาให้กระบังลมทำงานได้เต็มที่ และป้องกันการสำลัก
ปล่อยลมจาก cuff
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าเต็มที่ แล้วจึงถอดท่อช่วยหายใจออก
การวัด Cuff pressure
วัด cuff pressure อย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง
ค่าปกติ 20-25 CmH2O
ความดันที่สูงเกินไปจะทำให้เกิดอันตรายอย่างไร
• เกิดการบวมของหลอดลม (tracheal edema)
• มีรอยโรคเกิดขึ้นภายในเยื่อบุหลอดลม (tissue erosion)
• เกิดการตีบของหลอดลม (tracheal stenosis)
• เกิดรูรั่วของหลอดลม (tracheal fistular)
• เกิดการกดเลือดไม่ไปเลี้ยงหลอดลมคอ
• หลอดลมแตก (tracheal rupture)
• cuff โปงยอย ผิดรูป (herniation)
ข้อผิดพลาดในการดูดเสมหะ
◆ เข้าใจผิดว่าควรดูดเฉพาะเมื่อมีเสมหะ ไม่ควรดูดเป็น routine
◆ ไม่ควบคุมแรงดูด
◆ เลือกสายไม่ถูกต้อง ขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป
◆ ดันสายแรง ไม่ดึงออกเล็กน้อยก่อนดูด
◆ หมุนสายไม่เป็น ดึงออกเร็วเกินไป
◆ ไม่ใช้ finger-tip control
◆ ไม่สนใจ sterile technique
◆ ดูดด้วยคนเดียว หรือมีสองคนแต่ก็ยังจับ ET tube เอง
◆ Hyperinflateไม่เป็น ทำ hyperventilation แทน
◆ แก้ปัญหาไม่ถูก เช่น สอดสายไม่เข้า
ข้อบ่งชี้: การดูดเสมหะ
• ฟังปอดมีเสียงเสมหะ
• ผู้ป่วยไอ กระสับกระส่าย
• ผู้ป่วยหายใจลำบาก
• ผู้ป่วยหายใจมีเสียงครือคราด
• ก่อนเอาท่อช่วยหายใจออก
ภาวะการหายใจลำบากเฉียบพลัน
ปัญหาจากท่อช่วยหายใจ
ปัญหาจากผู้ป่วย
ปัญหาจากเครื่อง
ข้อสังเกตว่าผู้ป่วยหายใจไม่เข้ากับเครื่อง
• อัตราการหายใจของผู้ป่วยมากกว่าของเครื่อง
• จังหวะการหายใจของผู้ป่วยกับเครื่องไม่สัมพันธ์กัน
• peak airway pressure ของ การหายใจแต่ละครั้ง ไม่สม่ำเสมอ
• Airway pressure ลดลง หรือ เป็นลบ
WHAPO to VAP Prevention
• 1. W: Weaning
• 2. H: Hand hygiene
• 3. A: Aspiration Precautions
• 4. P: Prevent Contamination
• 5. Oral Care