Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการเรียนรู้ - Coggle Diagram
จิตวิทยาการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
การเสริมแรง 2 วิธี
การให้การเสริมแรง(Continuous Reinforcement)มุ่งให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
2. การให้การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Partial Reinforcement)
2.4 เสริมแรงตามช่วงเวลาที่ไม่แน่นอน
2.3 เสริมแรงตามช่วงเวลาที่แน่นอน
2.2 เสริมแรงตามอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน
2.1 เสริมแรงตามอัตราส่วนที่แน่นอน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์หรือทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การให้แรงเสริมช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงที่ตายตัว
การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก/การกระทำที่ไม่มีการเสริมแรง จะลดลงและหายไปในที่สุด
การนำทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ไปใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัย
การใช้เสริมแรง (Reinforcement) ครูควรให้การเสริมแรง โดยการชมเชยหรือให้แรงจูงใจ เช่น การให้รางวัล
การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างและการลดพฤติกรรมบางอย่าง (Shaping Behavior)
3. บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Maching) และเครื่องช่วยสอน (Teaching Learning
)
แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นส่วนย่อย ๆ
จัดลำดับให้เป็นเหตุเป็นผลเพื่อให้เรียนได้ง่าย
เมื่อสำเร็จแต่ละขั้นจะได้รับแรงเสริม
บทเรียนสำเร็จรูปและเครื่องช่วยสอนต่างเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤ
ษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory)
เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
“การเรียนรู้โดยการสังเกต” หรือ “การเลียนแบบ”
การเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมในสังคม
ซึ่งทั้งผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อกันและกัน
แบนดูราเปลี่ยนชื่อทฤษฎีการเรียนรู้ของท่านว่า การเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory
)
1. แบนดูราได้ให้ความสำคัญของการปฏิสัมพันธ์ของอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้ก็เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม
การปฏิสัมพันธ์
B = พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล
P = บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน เช่น ความคาดหวังของผู้เรียน ฯลฯ)
E = สิ่งแวดล้อม
2. แบนดูราได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning) และการกระทำ (Performanc
e)
2.1 พฤติกรรมสนองตอบที่เกิดจากการเรียนรู้ ผู้ซึ่งแสดงออกหรือกระทำสม่ำเสมอ
2.2 พฤติกรรมที่เรียนรู้แต่ไม่เคยแสดงออกหรือกระทำ
2.3 พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไม่เคยเรียนรู้จริง ๆ
3. แบนดูราไม่เชื่อว่าพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะคงตัวอยู่เสม
อ
เพราะสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ตั้งวัตถุประสงค์ที่จะทำให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม หรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม
ครูผู้สอนแสดงตัวอย่างของการกระทำหลายๆ ตัวอย่าง ซึ่งอาจจะเป็น คน การ์ตูน ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทัศน์และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
ผู้สอนให้คำอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละครั้ง
ชี้แนะขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน เช่น แนะให้นักเรียนสนใจสิ่งเร้าที่ควรจะใส่ใจหรือเลือกใส่ใจ
จัดให้นักเรียนมีโอกาสที่จะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ เพื่อจะได้ดูว่านักเรียนสามารถที่จะกระทำโดยการเลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทำได้ไม่ถูกต้องอาจจะต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขที่ ตัวผู้เรียนเอง
ให้แรงเสริมแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถูกต้อง เพื่อจะให้นักเรียนมีแรงจูงใจที่จะเรียนรู้และเป็นตัวอย่างแก่นักเรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม
พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด
ความสามารถในการคิดเรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะ 6 ด้าน
การวิเคราะห์
5. การสังเคราะห์
การนำความรู้ไปใช้
การประเมินค่า
ความเข้าใจ
ความรู้ความจำ
จิตพิสัย (Affective Domain) พฤติกรรมด้านจิตใ
จ
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม
พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ
การรับรู้
การตอบสนอง
การเกิดค่านิยม
การจัดระบบ
บุคลิกภาพ
ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท)
การปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ขั้น
การหาความถูกต้อง
กระทำตามแบบ หรือเครื่องชี้แนะ
การกระทำอย่างต่อเนื่อง
การรับรู้
การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain)
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ (Psychomotor Domain)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ**
หมาสั่นกระดิ่ง
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory)สรุปทฤษฎีการเรียนรู้ และกฎการเรียนรู้ดังนี้
พฤติกรรมการตอบสนองเกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงในที่สุดหากไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับปรากฏขึ้นได้อีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกันและเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
กฎแห่งการเรียนรู้ตามทฤษฎีของพาฟลอฟ
กฎแห่งการลดภาวะ (Law of extinction)
กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ (Law of spontaneous recovery)
กฎแห่งการสรุปกฎเกณฑ์โดยทั่วไป (Law of generalization)
กฎแห่งความแตกต่าง (Law of discrimination)
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จำเป็นต้องคำนึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร
2.การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วยโดยปกติผู้สอนสามารถทำให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอนเราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทำโทษเขา
4.การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
สรุป
การลองผิดลองถูกนำไปสู่การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง และการเรียนรู้
การเชื่อมโยง (Connection) ระหว่างสิ่งเร้า (Stimuli) และการตอบสนอง ( Responses )
ลำดับขั้น
เมื่อปฏิกิริยาตอบสนองที่ไม่ทำให้เกิดความพอใจถูกตัดทิ้งไป จนเหลือปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดความพอใจ อินทรีย์จะถือเอา กิริยาตอบสนอง ที่ถูกต้องและจะแสดงตอบสนองต่อสิ่งเร้า(Interaction)
ปฏิกิริยาตอบสนองที่ไม่ทำให้เกิดความพอใจจะถูกตัดทิ้งไป
อินทรีย์จะแสดงอาการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
มีสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเป็นสิ่งเร้าให้อินทรีย์แสดงการตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมออกมา
กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งผล ( Law of Effect )
กฎแห่งการฝึก ( Law of Exercise )
กฎแห่งความพร้อม ( Law of Readiness )
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
ในการเรียนการสอนครูต้องให้ความสำคัญ และความเข้าใจในความแตกต่างของผู้เรียน
การวางเงื่อนไข ครูควรมีการวางเงื่อนไขในการเรียน เช่น หากผู้เรียนสอบหรือทำผลงานได้สำเร็จจะให้ทำกิจกรรมนันทนาการเพื่อคลายความเครียด
ในการสอน ควรมีการใช้การเสริมแรงทางบวกแก่ผู้เรียน
ครูผู้สอนไม่ควรใช้การลงโทษที่รุนแรงเกินไป
ก่อนดำเนินการสอนครูต้องคำนึงถึงความพร้อมครูผู้สอนต้องสร้างความพร้อมทางความรู้ให้กับผู้เรียนด้วย คือการอธิบายของความรู้เดิมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการจำได้ถึงเนื้อหาก่อนหน้าที่เคยศึกษาให้สามารถเชื่อมโยงความรู้ได้
ครูผู้สอนควรมีการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการฝึกหัด
ทฤษฎีการกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory)
กฎการเรียนรู้
เน้นการเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณ
ะ
1. การรับรู้ (Perception) การสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือ หู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง การรับรู้ทางสายตาร้อยละ 75 ของการรับรู้ทั้งหมด แบ่งเป็นกฎ 4 ข้อ เรียกว่า กฎแห่งการจัดระเบียบ
1.1 กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนแน่นอน เพราะประสบการณ์เดิมต่างกัน
1.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) การวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน
1.3 กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) สิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความใกล้ชิดกัน มีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียวกัน
1.4 กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity)สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
1.5 กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer)สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ
สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
2. การหยั่งเห็น (Insight)
หมายถึ
ง
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด
เกิดจากความเข้าใจและความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์ว่าได้ยินได้ค้นพบแล้ว
ผู้เรียนจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึ้นได้ในทันทีทันใด
โคลเลอร์ได้ทดลองโดยการขังลิงชิมแพนซี
การนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการเรียนการสอน
ให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้างทั้งหมดของเรื่องที่สอนก่อน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้ เป็นส่วนรวม แล้วจึงแยกส่วนสอนเป็นตอนๆ
เน้นเข้าใจมากกว่าเน้นการเรียนแบบท่องจำ มีสื่อที่ชัดเจนประกอบการเรียนเรียน ปฏิบัติจริงลงมือกระทำเอง ( Learning by Doing )
ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ที่เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่าง และคล้ายคลึงกันอย่างไรเพื่อช่วยให้จำได้นา
น
นำแนวคิดของทฤษฏีนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ว่าควรทำความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุม ไม่ควรมองปัญหาโดยมีอคติ และใช้ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น