Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการเรียนรู้ - Coggle Diagram
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ (Psychology of learning)
จิตวิทยาที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นนั้นต้องเกิดจากพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร
เกิดจากการฝึกฝน
กระบวนการเรียนรู้จะเกิดได้จากขั้นตอนหลัก 4 ขั้น
ตั้งใจจะรู้
กำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อให้รู้
ลงมือปฏิบัติและได้รับผลประจักษ์
พ
ยายามศึกษาว่ากระบวนการเรียนรู้นั้นมีลักษณะอย่างไร
งานวิจัยส่วนใหญ่นั้นจะทำการศึกษาแบบพฤติกรรมนิยมแบบพุทธินิยมและแบบ self-regulated learning
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านจิตวิทยามี 3 กลุ่ม
1. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้
คือ
1.1 อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov, 1849-1936) นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) หรือ แบบสิ่งเร้า
1.2 จอห์น บี วัตสัน (John B Watson คศ.1878 -1958) ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคที่เกิดขึ้นกับมนุษย์
1.3 เบอร์รัส สกินเนอร์ (Burrhus Skinner) ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning theory)
1.4 เพียเจท์ (Jean Piaget) การจัดการเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้ให้ข้อมูลและนักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล ครูยิ่งให้ข้อมูลมากเท่าไร นักเรียนก็ยิ่งรับข้อมูลได้มากเท่านั้น
1.5 กาเย่ (Gagne) ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น
-
การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียน
รู้
-
การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ
-
การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจำระยะสั้นและระยะยาว
- ความสามารถในการจำ (Retention Phase)
ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase)
การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)
- การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ (Performance Phase)
- การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน (Feedback Phase) ผู้เรียนได้รับทราบผลเร็วจะทำให้มีผลดีและประสิทธิภาพสูง
1.6 ธอร์นไดค ทฤษฎีการเชื่อมโยง
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ คือ
2.1 เดวิค พี ออซุเบล ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมา
ย
2.2 Gestalt Psychologist ทฤษฎีการใช้ความเข้าใจ (CognitiveTheory
)
2.3 โคท์เลอร์ (Kohler, 1925) การเรียนรู้โดยการหยั่งรู้ (Insight Learning
)
2.4 Jero Brooner ทฤษฏีการเรียนรู้แบบค้นพ
บ
2.5 Piaget ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้คือ
3.2 Anthony Grasha กับ Sheryl Riechmann ทฤษฎีการสังเกตจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูผู้สอน และสังเกตจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับเพื่อนร่วมห้อ
ง
3.3 เลวิน (Lawin) ทฤษฎีสนาม
3.4 Robert Slavin และคณะทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมกันเรียนรู้
3.5 David Johnson และคณะทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้
3.6 Shlomo และ Yael Sharan ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้ในงานเฉพาะอย่าง
3.1 ศาสตราจารย์บันดูรา แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford) ประเทศสหรัฐอเมริกา การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ (Observational Learning หรือ Modeling)