Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
Abnormal passengers
ตำแหน่งที่รกเกาะผิดปกติ
ทารกมีขนาดใหญ่ เช่น 4,000 กรัม
จำนวนทารกในครรภ์มีมากกว่า 1
ปริมาณน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ส่วนนำผิดปกติ เช่น ส่วนนำเป็นก้นหรือหน้า หรือผสม เช่นศีรษะและมือ
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ พิการ
เด็กแฝดตัวติดกัน
เด็กหัวโต
เด็กหัวบาตร
เด็กท้องโต
ท่า (Position) และทรง (Attitude)
Occiput posterior persistent : OPP
ผลกระทบ
ผนังช่องคลอดและฝีเย็บขยายและฉีกขาดได้ยาก
การคลอดยาวนาน
อาจต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ผู้คลอดปวดหลัง ปวดเอวมาก
ปากมดลูกบวม
ผู้คลอดเหนื่อยล้า
กระทบกระเทือนด้านจิตใจ
ทารกขาดออกซิเจน
การพยาบาล
จัดท่า
lateral position
upright position
modified knee-chest position
four-leg position
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้มดลูกหดรัดตัวดี
ประเมินสภาพทารกอย่างใกล้ชิด
สอนวิธีบรรเทาปวดต่างๆ
Breech presentation
ผลกระทบ
ทารกขาดออกซิเจน
ระยะการคลอดยาวนาน
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
เลือดออกในสมองทารก
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
รายที่ถุงน้ำคร่ำแตกให้รีบฟัง FHS และตรวจภายใน
NPO
ให้นอนพักบนเตียงท่าตะแคง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
ประเมินการดิ้นของทารกเป็นระยะ
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมิน บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาที
กระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อส่วนนำลงต่ำ
จดบันทึกเวลาที่ก้นบริเวณปุ่มกระดูกโคนข้างทารกโผล่และเวลาที่สายสะดือผ่านพ้นช่องคลอด
Brow presentation
การพยาบาล
ตรวจภายใน ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะๆ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมิน FHS
ดูแลทารกอย่างใกล้ชิด
Transverse lie
การพยาบาล
ตรวจภายใน ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะๆ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมิน FHS
ดูแลทารกอย่างใกล้ชิด
มีแนวลำตัวผิดปกติ เช่น อยู่ในแนวขวาง
Abnormal passengers
Soft passage
ความผิดปกติของช่องคลอด
เนื้องอก/ถุงน้ำ
C/S
Vaginal stenosis
ช่วยเหลือ : ส่วนำกดช่องคลอด --> เนื้อเยื่อนุ่ม คลอดทางช่องคลอดได้
Saptate vaginal
ช่วยเหลือ : ผนังกั้นหนาไม่มาก -->ฉีกขาดเอง, ผนังกั้นขวางช่องคลอด -->C/S
ความผิดปกติของปากช่องคลอด
ปากช่องคลอดบวม
สาเหตุ : คลอดยาวนาน ขาดโปรตีน
ช่วยเหลือ : พักบนเตียง ผ่าตัดระบายก้อนเลือด ให้ ABO
ปากช่องคลอดตีบ/ส่วนล่างช่องคลอดตีบ
สาเหตุ : ผิดปกติแต่กำเนิด อักเสบ บาดเจ็บ
ช่วยเหลือ :
ตีบบางส่วน --> คลอด Vg+ตัดฝีเย็บให้บาง
ตีบมาก --> C/S
Rigid perineum
ครรภ์แรก อายุน้อย อายุมาก
ช่วยเหลือ : ตัดฝีเย็บให้กว้าง
การอักเสบ/เนื้องอก
ความผิดปกติของปากมดลูก
Cervical stenosis
สาเหตุ : จี้ด้วยไฟฟ้า ติดเชื้อ
ช่วยเหลือ : ถ้าตีบมากไม่สามารถเปิดได้ ให้ C/S
Rigid cervix
พบในครรภ์แรก อายุมาก
ปากมดลูกจะนุ่มขึ้น เมื่อเจ็บครรภ์จะขยายได้เอง
Edematous cervix
ช่วยเหลือ : นอนตะแคงซ้าย หนุนก้นสูง ให้ยาบรรเทาปวด
สาเหตุ : ศีรษะทารกกดบนปากมดลูกนาน
มะเร็งปากมดลูก
C/S ป้องกันการกระจายของเซลล์มะเร็ง
ความผิดปกติของมดลูก
มดลูกคว่ำหน้ามาก
สาเหตุ : ผนังหน้าท้องหย่อนยาน
ช่วยเหลือ : ผ้าพันหน้าท้อง C/S ถ้าการคลอดไม่ปกติ
มดลูกคว่ำหลังมาก
ถ้าคว่ำมากส่วนใหญ่จะแท้ง
คว่ำหลังไม่มาก --> ไม่จำเป็นต้องรักษา
กดเบียดกระเพาะปัสสาวะ --> Knee-chest position
มดลูกหย่อน
มดลูกโตขึ้นจะดึงปากมดลูกกลับเข้าเอง
เนื้องอกของมดลูก
มักทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด
ความผิดปกติของรังไข่และก้อนในอุ้งเชิงกราน
C/S & ตัดเนื้องอกหรือก้อนออก
การพยาบาล
ปากมดลูกบวมจากการเบ่ง -->ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาปวด
มดลูกคว่ำหน้า -->ผ้าพันหน้าท้อง การคลอดไม่ปกติ-->C/S
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
มดลูกรัดตัวดี แต่ปากมดลูกเปิดช้า ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ-->รายงานแพทย์
ปากมดลูกบวมจากถูกกดนาน-->นอนตะแคงซ้าย ยกก้นสูง
Bony passage
Outlet contraction
การวินิจฉัย
ระยะที่สองของการคลอดยาวนาน
subpubic angle ทำมุม <85 องศา
ส่วนนำเคลื่อนต่ำช้าหรือหยุดชะงัก
การดูแลรักษา
ตัดฝีเย็บให้กว้าง
จัดท่า upright position
Inlet contraction
การวินิจฉัย
X-ray pelvimetry
คลำพบ promonotory of sacrum
diagonal conjugate 11.5 cm
คลำขอบด้านข้างทั้ง 2 ข้างของ pelvic inlet ได้
การดูแลรักษา
การคลอดไม่ก้าวหน้าหรืออยู่ในภาวะเสี่ยง --> C/S
เชิงกราน+ส่วนนำผิดสัดส่วนไม่มาก --> trial labor
General contraction
สาเหตุจากอุบัติเหตุ/โรคกระดูกบางชนิด
ทำให้การคลอดยาวนาน คลอดติดขัด
สิ้นสุดด้วยการ C/S
Midpelvic contraction
การวินิจฉัย
interspinous diameter <8.0 cm
คลำพบ ischial spines นูน แหลม
ผนังด้านข้างสอบนูนเข้าหากัน
sacrosciatic notch แคบ
การดูแลรักษา
หลีกเลี่ยงยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
mid pelvic แคบเล็กน้อย --> คลอดโดยใช้ V/E
mid pelvic แคบมาก --> C/S
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ถ้าเจ็บมากพักไม่ได้ให้ยาบรรเทาปวด
ดูแลให้ทำ ARM
ถ้าถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนศีรษะสูง
ถุงน้ำคร่ำแตก+ส่วนนำไม่กระชับกับช่องคลอด ให้พักบนเตียง
NPO + IV
Abnormal powers
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
Hypertonic uterine dysfunction
หดรัดตัวรุนแรง แรงดันขณะหดรัดตัว > 50 mmHg, หดรัดตัวแต่ละครั้งห่างกัน < 2 นาที ระยะพัก < 30 วินาที, หดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ, asynchronous, ไม่สามารถทำให้ปากมดลูกเปิดหรือส่วนนำเคลื่อนต่ำ, มี High resting pressure, มักพบใน latent phase
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Incoordinated uterine contraction
มดลูกแต่ละส่วนหดรัดตัวไม่ประสานกัน
ส่วนกลาง/ส่วนล่างหดรัดตัวแรงกว่ายอดมดลูก
หดรัดตัวถี่แต่ไม่สม่ำเสมอ
ขณะคลายตัวมีความตึงตัวมากกว่าปกติ
มักพบร่วมกับ CPD ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ครรภ์แรก อายุมาก กลัวและวิตกกังวลมาก
การวินิจฉัย
กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวแรง ส่วนกลางและล่างมากกว่าส่วนบน
แรงดันเฉลี่ย > 60 mmHg
ในระยะพักมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
ผู้คลอดเจ็บครรภ์ตลอดเวลา
ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด
การดูแลรักษา
ถ้ามีภาวะ CPD --> C/S
ถ้าไม่มีภาวะ CPD --> ให้ยาระงับปวด ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ถ้าการหดรัดตัวกลับมาปกติอาจคลอดทาง Vg ได้ ถ้ายังหดรัดตัวผิดปกติและผู้คลอดพักไม่ได้หรือทารกอยู่ในภาวะคับขัน อาจ C/S
Tetanic contraction
มดลูกหดรัดตัวแข็งตึงตลอดเวลา ระยะคลายตัวสั้น/ไม่คลายตัวเลย
สาเหตุ
Obstructed labor
Non-Obstructed labor
การวินิจฉัย
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
มดลูกหดรัดตัวนาน > 90 วินาที
Interval < 2 นาที
ไม่มีการเคลื่อนต่าของส่วนนำ (มีการคลอดติดขัด)
การดูแลรักษา
จากการคลอดติดขัด
ทารกยังมีชีวิต
C/S
ทารกเสียชีวิต
หัตถการทำลายทารก
จากยากระตุ้นมดลูกหดรัดตัว
ลดขนาดยา
หยุดให้ยา
ให้ยาคลายการหดรัดตัวของมดลูก
จากรกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกยังมีชีวิต
C/S
ทารกเสียชีวิต
คลอดทางช่องคลอด
Constriction ring
สาเหตุ
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป
การทำสูติศาสตร์หัตถการบางชนิด เช่น interval version
หลังคลอดทารกแฝดคนแรก
การวินิจฉัย
เกิดในระยะที่ทารกยังไม่คลอด
มดลูกหดรัดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ มีระยะคลายตัว
ผู้คลอดจะเจ็บปวดมาก
ตรวจทางหน้าท้องไม่พบวงแหวนที่รอบต่อของมดลูกส่วนบนกับส่วนล่าง
ตรวจภายในจะพบผนังมดลูกเป็นวงดึงรัดรอบคอทารก
เกิดในระยะรกคลอด
หลังจากทารกคลอดเป็นเวลานานแล้วรกยังไม่คลอด
การดูแลรักษา
เกิดในระยะรอคลอด
ให้ยาบรรเทาปวด วงแหวนคลายตัว
ถ้าวงแหวนไม่คลายตัว+ทารกขาดออกซิเจน --> C/S
เกิดในระยะคลอด
ให้ยาสลบ กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
ทำคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
เกิดในระยะรกคลอด+เลือดออกมาก
ดมยาสลบ+ล้วงรก
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
ดูแลให้ยาระงับความเจ็บปวด ตามแผนการรักษา แนะนำวิธีการบรรเทาความเจ็บปวด
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปที่รก จัดให้นอนท่าตะแคงศีรษะสูง
ประเมิน contraction FHS ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ IV fluid
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
เตรียมผู้คลอด พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับ V/E , C/SV/E , C/SV/
Hypotonic uterine dysfunction
แรงดันขณะมดลูกหดรัดตัว<25mmHg
หดรัดตัว <2 ครั้งใน 10 นาที
มักเกิดในระยะ active phase
สาเหตุ
มดลูกยืดขยายมากกว่าปกติ
ส่วนนำทารกไม่กระชับกับปากมดลูก
ได้รับยาระงับปวด
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ติดเชื้อในโพรงมดลูกและน้ำคร่ำ
เครียด กลัว วิตกกังวล
มีความผิดปกติที่มดลูก : เนื้องอก ปากมดลูกแข็ง
การวินิจฉัย
ประเมินเมื่อปากมดลูกมีการบางตัวและเปิดอย่างน้อย 4 cm
Ut. contraction <3 ครั้งใน 10นาที
D < 40 sec, mild to moderate intensity
ปากมดลูกเปิดช้า/ไม่เปิดเพิ่ม
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ/เคลื่อนต่ำช้า
พบร่วมกับเชิงกรานแคบ ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
การดูแลรักษา
แก้ไขที่สาเหตุที่เกิดจากมารดา
ดูแลให้พักผ่อน+ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
ให้ยาระงับปวดในขนาดที่เหมาะสม
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ให้กำลังใจและปลอบใจ
ประเมินว่ามีภาวะ CPD หรือไม่ ถ้ามี C/S
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าแก้ไขแล้วยังไม่ปกติ ให้ C/S
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสซักถาม
กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนท่าศีรษะสูง
ดูแลกระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลให้ได้รับการทำ ARM หากไม่มีข้อห้าม
ดูแลได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ยาระงับความเจ็บปวด ตามแผนการรักษา แนะนำวิธีการบรรเทาความเจ็บปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 2 ชั่วโมง
ประเมิน FHS ทุก 30-60 นาทีและประเมิน V/S
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ระวังภาวะ PPH
แรงเบ่งผิดปกติ
สาเหตุ
ผู้คลอดเบ่งไม่ถูกต้อง
ผู้คลอดดิ้นไปมา ควบคุมตนเองไม่ได้
ได้ยาบรรเทาปวดมากไป/ได้ในเวลาไม่เหมาะสม
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว เป็นอัมพาต
เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ
มีโรคหัวใจ HT Anemia เกร็ดเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
เบ่งสั้นเกินไป เบ่งนานเกินไป เบ่งมีเสียง เบ่งหน้าแดง
ท่าในการเบ่งไม่เหมาะสม
มีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
ขณะเบ่งปากช่องคลอดไม่มีการบานหรือขยาย
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
การดูแลรักษา
สอนเบ่งให้ถูกต้อง
ถ้าผู้คลอดหมดแรง เหนื่อย หรือทารกขาดออกซิเจน ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การพยาบาล
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมดไม่ควรเบ่ง แนะนำวิธีลดลมเบ่ง
ถ้าปากมดลูกเปิดหมดแต่ส่วนนำยังไม่ถึงพื้นเชิงกรานสามารถรอจนกว่าผู้คลอดจะรู้สึกอยากเบ่ง
ถ้าไม่มีข้อห้ามในการเบ่ง สอนเบ่งอย่างถูกวิธี
จัดท่าในการเบ่งคลอดที่เหมาะสม
ชมเชย ให้กำลังใจ บอกความก้าวหน้าของการคลอด
เช็ดหน้า เช็ดตัว และให้พักขณะมดลูกคลายตัว
ประเมิน Ut contraction ถ้าไม่ดีและ FHS ผิดปกติ ให้รายงานแพทย์
นางสาวอนงค์นาถ ตันต้าว ชั้นปีที่ 4 เลขที่ 151