Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ (The Muscular system) - Coggle Diagram
ระบบกล้ามเนื้อ
(The Muscular system)
กล้ามเนื้อลาย(Skeletal muscle)
กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า (muscles of facial expression)
กล้ามเนื้อของหนังศีรษะ
Frontalis
• Origin: Galea aponeurosis
• Insertion: ผิวหนังบริเวณคิ้ว
• Action:ยักคิ้ว หน้าผากย่น
Occipitalis
• Origin: กระดูก Occipital และmastoid process ของกระดูกtemporal
• Insertion: Galea aponeurosis
• Action: ดึงหนังศีรษะไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
Corrugator supercilii
Origin: กระดูก Frontal (ตรงบริเวณดั้งจมูก)
Insertion: ผิวหนังบริเวณคิ้ว
Action: ขมวดคิ้ว
Orbicularis Oculi
• Origin: ผนังด้านในของเบ้าตา
• Insertion: เนื้อเยื่อรอบๆเบ้าตา
• Action: หลับตา กระพริบตา หยีตา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis
Origin: กระดูก maxilla
Insertion: พังผืดที่คลุมอยู่บน nasal
cartilage และด้านข้างของปีกจมูก
ประกอบด้วย 2 ส่วน
tranverse part หรือ compressor nalis
ทำให้รูจมูกแคบลง
alar part หรือ dilator nalis
ทำให้รูจมูกกว้างขึ้น
alar part หรือ dilator nalis
กล้ามเนื้อรอบปาก
Levator anguli oris
Origin: Canine (canine fossa)
Insertion: มุมปาก (angle of the mouth)
Action: ยกมุมปากขี้นำให้เห็นฟันขณะยิ้ม
Mentalis
Origin: กระดูกmandible Insertion:ผิวหนังบริเวณคาง
Action:ทำคางย่น
Orbicularis Oris
Origin: กล้ามเนื้อหลายๆมัดที่อยู่บริเวณปาก
Insertion: ผิวหนังบริเวณริมฝีปากและเยื่อบุรอบๆปาก
Action: เม้มริมฝีปาก หรือหุบปาก
Buccinator
Origin: ผิวด้านนอกของ mandible และ maxilla
Insertion : ติดกับกล้ามเนื้อ Orbicularis oris
Action : ช่วยในการดูดการเคี้ยวอาหาร การกลืน ผิวปาก
Levator labii superioris
Origin: กระดูก zygomatic และขอบล่าง
ของเบ้าตาตรงกระดูก maxilla
Insertion: กล้ามเนื้อ orbicularis orisและ
ผิวหนังรอบๆปาก
Action: ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิด
ปาก และทำให้รูจมูกผายออก
Risorius
Origin: พังผืดบริเวณแก้ม
Insertion: เกาะกับกล้ามเนื้อ orbicularis oris และผิวหนังบริเวณมุมปาก
Action: ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
Depressor labii inferioris
Origin: กระดูก mandible บริเวณด้านข้างของแนวกลาง
Insertion: กล้ามเนื้อ orbicularis oris และผิวหนังบริเวณริมฝีปากล่าง
Action: ดึงริมฝีปากล่างลง
Zygomaticus
แบ่งกล้ามเนื้อนี้เป็น 2 มัดได้แก่
Zygomaticus majorและZygomaticus minor
Origin: กระดูก Zygomatic
Insertion: เกาะกับกล้ามเนื้อบริเวณมุมปาก และผิวหนังบริเวณนั้น
Action: ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
Depressor anguli oris
Origin: กระดูก mandible
Insertion: กล้ามเนื้อ orbicularis oris และผิวหนังบริเวณมุมปาก
Action: ดึงมุมปากลงมาด้านล่าง
กล้ามเนื้อคอ
Platysma
Origin: พังผืดบริเวณคอและหน้าอก และไหล่
Insertion: กระดูก mandible ผิวหนังและกล้ามเนื้อบริเวณหน้าทางด้านล่าง
Action: ดึงคางลงละริมฝีปากล่างลงมา
กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว (muscle of mastication)
Temporalis
Origin: Temporal fossa ve Temporal
Insertion: Coronoid process ของกระดูก Mandible
Action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้หุบปาก และถอยไปข้างหลัง
Masseter
Origin: Zygomatic arch
Insertion: มุมของกระดูก mandible
Action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น
Medial pterygoid
Origin: Lateral pterygoid plate ของกระดูก sphenoid กระดูก Palatine กระดูก maxilla
Insertion: ผิวด้านในของกระดูก mandible
Action: ยกกระดูก mandible ขึ้น และทำให้มีการเคลื่อนกระดูก mandible ออกไปด้านข้าง
Lateral pterygoid
Origin: superior head: greater wing ของกระดูก sphenoid inferior head: lateral pterygoid
Insertion: superior head: capsule and & articular disk of the temporomandibular joint;inferior head: ด้านหน้าของกระดูก mandible
Action: ยื่นกระดูก mandible มาทางด้านหน้า และไปด้านข้าง
กล้ามเนื้อที่พื้นของช่องปาก (muscle of the floor of the oral cavity)
ทำหน้าที่ยกกล่องเสียงและกระดูกhyoid ขึ้นขณะกลืนอาหารหรือดึงขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
Digastric (anterior belly)
Mylohyoid
Digastric
Stylohyoid -(posterior belly)
กล้ามเนื้อของกล่องเสียง (muscle of the larynx)
Omohyoid(superior belly)
Sternohyoid
Cricothyroid
Omohyoid(inferior belly)
Sternothyroidi
Thyrohyoid
กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศีรษะและคอ (muscle moving the head
Sternocleidomastoid
Splenius capitis
Semispinalis capitis, Cervicis and spinalis
Longissimus Capitis
Scalenes
Levator scapulae
Longus Colli
กล้ามเนื้อของช่วงไหล่
1.กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย มีจุดเกาะปลายที่กระดูกclavicle และ scapular ได้แก่
Levator Scapulae
Subclavius
Serratus Anterior
Pectoralis Minor
Trapezius
Rhomboid Major
Rhomboid Minor
กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย หรือกระดูก scapulaมีจุดเกาะปลายที่กระดูก humerusได้แก่
Pectoralis major
Subscapularis
Latissimus Dorsi
Deltoid
Infraspinatus
Supraspinatus
Teres major
Teres minor
กล้ามเนื้อต้นแขน (muscle of the forearm)
มีจุดเกาะต้นที่กระดูก humerus และไปเกาะปลายที่กระดูกปลายแขน ได้แก่ กระดูก radius และ ulnar
Biceps Brachii
Brachialis
Tricep brachii
Coracobrachialis
Anconeus
กล้ามเนื้อปลายแขน (muscle of the forearm)
กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน(anterior group)
1.1กลุ่มที่อยู่ตื้น(Superficial layer)
Pronator teres
Flexor carpi radialis
Flexor carpi ulnaris
Palmaris longus
Flexor digitorum superficialis
1.2 กลุ่มที่อยู่ลึก(deep layer)
Pronator quadratus
Flexor digitorum profundus
Flexor pollicis longus
กลุ่มที่อยู่ด้านหลังของปลายแขน(posterior group)
1.1กลุ่มที่อยู่ตื้น(Superficial layer)
Anconeus
Brachioradialis
Extensor carpi radialis longus
Extensor carpi radialis brevis
Extensor digitorum
Extensor digiti minimi
Extensor carpi ulnaris
1.2 กลุ่มที่อยู่ลึก(deep layer)
Supinator
Abductor pollicis longus
Extensor indicis
Extensor pollicis longus
Extensor pollicis brevis
กล้ามเนื้อภายในมือ และนิ้วมือ (Intrinsic muscle of the Hand)
กล้ามเนื้อบริเวณด้านหัวแม่มือ (thenar muscle)
Abductor pollicis bravis
Flexor pollicis brevis
Opponens pollicis
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย (Hypothenar muscle)
Abductor digiti minimi
Flexor digiti minimi
Opponens digiti minimi
Palmaris brevis
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโป้งและด้านนิ้วก้อย(intermediate group)
Abductor pollicis
Lumbricals
Palmar interossei
Dorsal interossei
กล้ามเนื้อหลัง (Back muscle)
1.Splenius muscle
Eerector spinae
-iliocostalis lumborum
-longissimus thoracis
-spinalis thoracis
Transversospinalis muscle
Segmental muscle
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ (muscle of respiration)
Diaphragm
External Intercostal
Internal Intercostal
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านหน้า (Anterior wall)
Rectus Abdominus
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านข้าง (Lateral wall)
External Oblique
Internal Oblique
Transverse Abdominis
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้านหลัง (Posterior wall)
Quadratus lumborum
Psoas major
Iliacus
กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน (muscle of the pelvis Diaphragm)
Levator ani and Coccygeus
กล้ามเนื้อของก้น (muscle of the buttock)
Gluteus maximus
Gluteus Medius
Gluteus Minimus
Tensor fascia lata
Piriformis
Obturator externus
Obturator internus
Superior gemellus
Inferior gemellus
กล้ามเนื้อของต้นขา (muscle of the thigh)
กลุ่มกล้ามเนื้อทางด้านหน้า
Sartorius
Quadriceps femoris
a. Rectus femoris
b. Vastus medialis
c. Vastus intermedius
d. Vastus lateralis
กล้ามเนื้อทางด้านใน
Gracilis
Pectineus
Adductor brevis
Adductor longus
Adductor magnus
กล้ามเนื้อทางด้านหลัง
Biceps Femoris
Semimembranosus
Semitendonosis
กล้ามเนื้อปลายขา (muscle of the leg)
กลุ่มกล้ามเนื้ออด้านหน้า
Tibialis Anterior
Extensor digitorum longus
Extensor hallucis longus
Peroneus Tertius
กล้ามเนื้อด้านนอก
Peroneus longus
Peroneus brevis
กล้ามเนื้อด้านหลัง
Gastrocnemius
Soleus
Plantaris
กล้ามเนื้อที่อยู่ลึก (deep muscles)
Poplit
Flexor digitorum longus
Flexor hallucis longus
Tibialis Posterior
Extensor digitorum brevis
Extensor hallucis brevis
กล้ามเนื้อภายในเท้า (Muscle of the foot)
1.กล้ามเนื้อทางด้านหลังเท้า (Muscleon the dorsum of the foot)
Extensor digitorum brevis
2.กล้ามเนื้อฝ่ าเท้า (Muscle in the sole of the foot)
2.1กล้ามเนื้อชั้นที่ 1 ของฝ่าเท้า
2.1.1 Abductor hallucis
2.1.2 Flexor digitorum brevis
2.1.3 Abductor digiti minimi (foot)
2.2 กล้ามเนื้อชั้นที่ 2 ของฝ่าเท้า
2.2.1 Quadratus plantae
2.2.2 Lumbricals (foot)
2.3 กล้ามเนื้อชั้นที่ 3 ของฝ่าเท้า
2.3.1 Flexor hallucis brevis
2.3.2 Adductor hallucis
2.3.4 Flexor digiti minimi brevis(foot)
2.4 กล้ามเนื้อชั้นที่ 4 ของฝ่าเท้า
2.4.1 Plantar interossei
2.4.2 Dorsal interossei
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจคือเส้นประสาทอัตโนมัติทั้งประสาทซิมพาเธติคและพาราซิมพาเธติค
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
-มีเส้นใยประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
-ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์ เช่น อะเซทิลโคลีนและนอร์อิพิเนฟริน
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
• เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย (spindle)
• ไม่มีลายให้เห็น
• SR เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
• ไม่มี T-tubule และไม่พบ Triad
• Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
• มีแถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย แต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
•การท างานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (Pacemaker และ Syncytium)
• Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์1อัน
•มี T-tubule ใหญ่กว่า และ SR ไม่มีการพัฒนาเป็นกระเปาะ
•ไม่พบ Triad
ส่วนประกอบของกล้ามเนื้อหัวใจ
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
เซลล์ท าหน้าที่หดตัว (Contractile cell)
ได้แก่ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ท าหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัว พบได้ที่ผนังหัวใจทั้ง 4 ห้อง
กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์(Pacemaker cell)
ทำหน้าที่ผลิตศักย์ทำงาน (Action potential) ได้เอง และส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นให้
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
มี 2 ชนิด
• ปุ่่มเอสเอ (Sinuatrialnode : S-A node)
• ปุ่มเอวี(Atrioventricularnode : A-V node)
3.กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ(Specialized conduction cell)
เส้นประสาท
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจคือเส้นประสาทอัตโนมัติทั้งประสาทซิมพาเธติคและพาราซิมพาเธติค