Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PATHOPHYSIOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM พยาธิวิทยาของระบบทางเดินหายใจ -…
PATHOPHYSIOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM
พยาธิวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
ANATOMY OF RESPIRATORY SYSTEM
กายวิภาคของระบบทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจส่วนบน (Upper Respiratory Tract)
จมูก (Nose)
คอหอย (Pharynx)
กล่องเสียง (Larynx)
จมูก (Nose)
คอหอย (Pharynx) , กล่องเสียง (Larynx)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower Respiratory Tract)
หลอดลม (trachea, bronchi, bronchioles)
ปอด (Lungs)
ถุงลม (alveoli)
หลอดลม (trachea, bronchi, bronchioles)
ปอด (Lungs)
ถุงลม (alveoli)
ทรวงอก (Thorax)
กระดูกซี่โครง (Ribs)
กล้ามเนื้อซี่โครง (Intercostal ribs)
กระบังลม (Diaphragm)
กระดูกซี่โครง (Ribs)
หายใจเข้า
ซี่โครง/ข้าง = ยกตัว ขยายด้านข้าง ขยายด้านหน้า
กระบังลม (DIAPHRAGM)
PHYSIOLOGY OF RESPIRATORY SYSTEM
นิยามศัพท์ (DEFINITION)
Volumes = ปริมาตร
Capacities = ปริมาตรที่สามารถจุได้
Elastic recoil = ความสามารถการคืนตัวกลับสู่รูปร่างปกติ
Compliance = ความสามารถในการขยายตัว
Pressure = แรงต้น
hemoglobin saturation (SO2) = อัตราส่วนของ hemoglobin ที่จับกับ O2 ต่อปริมาณ O2 ทั้งหมด
Dead space = ส่วนที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนแก็ส
Ventilation = การไหลเวียนอากาศ
Perfusion = การไหลเวียนโลหิต
Clinical Presentation = อาการแสดง
Epidemiology
Risk Factors
vasodilation
productive cough
ปริมาณและความสามารถของปอด
Tidal volume (vt) = ปริมาตรอากาศขณะหายใจเข้า / ออกแต่ละครั้ง
Inspiratory reserve volume (IRV) = ปริมาตรอากาศที่เพิ่มขึ้นได้สูงสุดขณะพยายามหายใจเข้า
Inspiratory capacity (IC) = ปริมาสรอากาศทั้งหมดที่สามารถหายใจเข้าได้ใน 1 ครั้ง
expiratory reserve volume (ERV) = ปริมาตรอากาศที่หายใจออกเพิ่มได้สูงสุดขณะพยายามหายใจออก
Residual volume (RV) = ปริมาตรอากาศคงเหลือในปอดขณะหายใจเข้าออกแต่ละครั้ง
Functional residual capacity (FRC) = ปริมาณแก๊สคงค้างในปอดขณะหายใจ
vital capacity (VC) = ปริมาตรอากาศหายใจออกได้หลังหายใจเข้าสูงสุด
total lung capacity (TIC) = ปริมาตรความจุของปอด
การทดสอบการทำงานของปอด
FEV1 / FVC or FEV1%
forced expiratory volume in 1 second (FEV 1) = IC in 1 second
forced vital capacity (FVC) = VC
ค่าจะลดลงในผู้ป่วย obstructive lung disease, เพิ่มขึ้นใน restrictive lung disease
คุณสมบัติคงที่: การปฏิบัติตามข้อกำหนดและการหดตัวแบบยืดหยุ่น
ในสภาวะปกติทรวงอกและปอด ค่า Compliance ~ Elastic recoil
Compliance = AV / AP
Elastic recoil = AP / AV (V = Volume, P = Pressure)
ปัจจัยที่มีผลต่อ Compliance
Elasticity of Lungs
Elasticity of Chest wall
Surfactant
โรคของปอด
Pulmonary fibrosis = Cต่ำ , Eสูง
Emphysema = Cสูง , Eต่ำ
โรคของ Surfactant
IRDS : Surface tensioniลง = cลง ส่งผลให้ work of breathing
โรคทรวงอก
โรคกล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง
Ankylosing / Kyphosis, Scoliosis = Cลง
โรคของเยื่อหุ้มปอด
Pneumothorax / hemothorax ทำให้ interplura presrefขึ้น = cลง
MATCHING OF VENTILATION TO PERFUSION
ค่าปกติของ Resting alveolar ventilation ~ 4L/min
ค่าปกติของ pulmonary artery blood flow is 5L/min
อัตราส่วน V/Q = 0.8 (Ventilation = V, blood flow/perfusion = Q)
โดยถ้าไม่สัมพันธ์กันจะเรียกว่า V/Q mismatch
High V/Q mismatch
เลือดมาเลี้ยงลดลง (Qลดลง) แต่หายใจเท่าเดิม เกิด alveolar dead space หรือ wasted ventilation
Pulmonary embolism
Pulmonary vascular disease
Low V/Q mismatch
หายใจลดลง (Vลดลง) เลือดมาเลี้ยงเท่าเดิม
Atelectasis
Lungs consolidation
Shunt = ไม่มี ventilationt (v = 0) เลือดมาเลี้ยงเท่าเดิม
CONTROL OF BREATHING
การควบคุมการหายใจ
ตัวส่งสัญญาน Chemoreceptors มี 2 ตำแหน่ง
peripheral chemoreceptors = the carotid bodies
ตอบสนองเมื่อ ระดับออกซิเจนในเลือด ต่ำกว่า 60 mm Hg
Central chemoreceptors = brainstem
ตอบสนองเมื่อ ระดับ PaCO2 สูงขึ้น
โดยจะกระตุ้นทำให้เกิด Ventilation
เมื่อปริมาตรปอด + ทรวงอกขยาย จึงต้องเพิ่มเวลาการหายใจออก
เกิด taregulation = Hering-Breuer reflex
OBSTRUCTIVE LUNG DISEASES
โรคปอดอุดกั้น
โรคหอบหืด (Asthma)
โรคที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นมากเกินไป (hyper responsiveness)
ทำให้เกิดการอักเสบและการอุดกั้นของทางเดินหายใจ (airway inflammation and air flow obstruction)
มีลักษณะเป็น clinical syndrome คือกลุ่มอาการ ได้แก่
หายใจเสียงวี๊ด (wheezing)
แน่นหน้าอก (chest fightness)
หายใจไม่อิ่ม (shortness of breath) (dyspnea)
ไอ (cough)
ระบาดวิทยาและปัจจัยเสี่ยง
วัยรุ่น (Adolescent)
ในอายุ <18 พบเพศ ช>ญ
Atopy
Physicochemical agents
ออกกำลังกาย (Exercise); hyperventilation with cold, dry air
Air pollutants
-Sulfur dioxide
-Nitrogen dioxide
Viral respiratory infections (eg, influenza A)
Ingestants
-Propranolol
-Aspirin; NSAIDs
สารก่อภูมิแพ้ (Allergens)
Low-molecular-weight chemicals
-penicillin
-isocyanates
-anhydrides
-chromate
Complex organic molecules
-animal danders
-dust mites
-enzymes
-wood dusts
การเกิดโรค
กระตุ้น of local inflammatory cells โดยเฉพาะ mast cells และ eosinophils
เกิด IgE-dependent mechanisms
หลั่ง Acute-acting mediators = leukotrienes, prostaglandins, histamine
เกิด smooth muscle หดตัว, mucus hypersecretion และ vasodilation
อาการทางคลินิก
อาการและสัญญาณ
หายใจลำบากและแน่นหน้าอก
หายใจมีเสียงฮืดๆ
ไอ
หายใจเร็วและหัวใจเต้นเร็ว
Pulsus paradoxus
Hypoxemia
Hypercapnia and respiratory acidosis
Obstructive defects by pulmonary function testing
Bronchial hyperresponsiveness
โรคปอดอุดกั้น (COPD)
COPD: CHRONIC BRONCHITIS & EMPHYSEMA
Clinical Presentation
Chronic Bronchitis โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ประวัติ productive cough 3 เดือนใน 2 ปีติดกัน
มีประวัติสูบบุหรี่ Cigarette smoking
Pathologic events ได้แก่
-inflammation in larger airways
-mucosal thickening
-mucus hypersecretion
-Inflammation in smaller bronchioles
-increased airflow obstruction
Emphysema
irreversible enlargement of the airspaces distal to the terminal bronchioles
ทำลายผนัง โดยไม่มี fibrous
สาเหตุและระบาดวิทยา
COPD เพิ่มขึ้นในคนอายุมากและเพศชาย
genetic risk factor = deficiency of แอลฟา1-protease (แอลฟา1-antitrypsin)
Clinical Manifestations
อาการทางคลินิก
Chronic Bronchitis
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ไอมีเสมหะ
Wheezing
Inspiratory and expiratory coarse crackles
Cardiac examination
Imaging = increased lung volumes + Cardiac size may be increased
Pulmonary function tests = reduced
Polycythemia
Emphysema
เสียงลมหายใจ = ลดลง
Cardiac examination-Tachycardia
Imaging: flattened hemidiaphragms + n increased anteroposterior chest
Pulmonary function tests = reduced
Polycythemia
RESTRICTIVE LUNG DISEASE: IDIOPATHIC PULMONARY FIBROSIS
Clinical Manifestations
อาการทางคลินิก
อาการและสัญญาณ
ไอ
หายใจลำบากและหายใจไม่ออก
Inspiratory crackles
Digital clubbing
Cardiac examination = pulmonary hypertension, prominent pulmonary valvenclosure sound (P2)
Imaging : reduced lung volumes with increased reticular opacities
Pulmonary Function Tests = increased ratio
ความผิดปกติของระบบหายใจ
Restrictive pulmonary function
ภาวะท่ีการขยายตัวของปอดถูกจำกัด
ความผิดปกติของปอด เนื่องจากการขยายตัว (Expansion) ของปอดถูกจำกัด ทำให้ TLC และ VC ลดลง มีผลให้หายใจเข้าลำบาก แต่แรงต้านการ ไหลของอากาศปกติ
ความยืดหยุ่นของปอดลดลง ทำให้ความจุของปอดลดลง
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงของเน้ือปอด (parenchymal)
โรคของเยื่อหุ้มปอด
มีปัญหาของ Chest Wall
พบบ่อย
Atelectasis
Pulmonary fibrosis
Pulmonary edema
Pneumothorax
Pleural effusion or Hydrothorax
Pleurisy (Pleuritis)
Abscess formation and cavitation
Atelectasis
การขยายตัว (Expansion) ของปอดไม่สมบูรณ์ หรือภาวะปอดแฟบ ไม่มีอากาศใน Alveoli
สาเหตุ
-ทางเดินหายใจอุดกั้นด้วยเมือกและวัตถุแข็ง
-ขาดสารลดแรงตึงผิวในของเหลวที่ซับในถุงลม
ผลกระทบ
-Lung collapse lead to compression of veins
-increase blood flow resistance
-Additional vasoconstriction due to hypoxia in collapsed alveoli
Pulmonary edema
มีการสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อปอดคือ interstitial และ alveoli
สาเหตุ
ภาวะหัวใจล้มเหลวด้านซ้าย
mitral valve disease
ความเสียหายต่อเยื่อหุ้มปอดเส้นเลือดฝอย
-การติดเชื้อ (ปอดบวม)
-หายใจเอาสารพิษ เช่น ก๊าซคลอรีนหรือก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะแรก Interstitial edema มีการสะสมของของเหลว ใน peribronchial และ perivascular space
ระยะท่ีสอง Alveolar Edema เมื่อ Interstitial hydrostatic pressure สูงมากๆ ของเหลวจะเข้าไปใน alveolar
Pneumothorax
ภาวะท่ีมีลมเข้าไปใน pleural space ซึ่งมีผลให้ปอดแฟบ
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีลมเข้าไปใน pleural space จะทำให้ intrapleural pressure สูงขึ้นทำให้ผนังช่องอกและปอดแยกออกจากกันมีผลให้การหุบขยายของปอดไม่เกิดขึ้นตามการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อทรวงอกขณะเดียวกันจะดัน mediastinum shift ไปยังด้านตรงข้ามที่ปกติ
สาเหตุ
มีการ leak ของลมเข้าไปโดยผ่านทางรูเปิดที่ผนังทรวงอก - Alveoli แตกฉีกขาด
Pleural effusion or Hydrothorax
ภาวะท่ีมีการสะสมของเหลวในเยื่อหุ้มปอด ถ้าของเหลวนั้นเป็นหนองเรียกว่า empyema แต่ถ้าเป็นเลือดเรียกว่า hemothorax
พยาธิสรีรวิทยา
จากการที่มีของเหลวในเยื่อหุ้มปอดไปเบียดกดเนื้อเยื่อปอดโดยตรงทำให้การขยายตัวของปอดถูกจำกัด และมีการ shift ของ mediastinum ไปยังด้านตรงข้าม
ลักษณะทางคลินิก
ไอ
Breath sound เบาลง
Blood gas abnormalities
การเคลื่อนไหวของหน้าอกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน
Jugular Vein Distention
Cyanosis
Pleurisy (Pleuritis)
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอดจะทำให้เยื่อหุ้มปอดมีลักษณะแดงและมีการสะสมของน้ำเหลือง fibrin และเซลล์และอาจมี pleural efusion ตามมาได้
ลักษณะทางคลินิก
ไข้ หนาวสั้น
เจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้า
ฟังเสียงปอดบริเวณทีมการอักเสบของเยื่อหุ้มปอดจะได้ยินเสียงคล้ายมีการเสียดสีของเยื่อหุ้มปอด (pleural friction rub)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนต้น (Upper respiratory tract | infection)
Pleuritis and Pneumothorax
Abscess formation and Cavitation
Abscess คือ ภาวะที่ปอดมีการอักเสบเป็นหนอง (Abscess) และมีการทำลายเนื้อเยื่อปอด (lung parenchyma)
Cavitation คือกระบวนการทำลายเนื้อเยื่อปอดบริเวณที่มีการอักเสบกลายเป็นโพรง (Cavity)
สาเหตุ
เกิดจากมีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง (lower respiratory tract infection) คือ
Pneumonia
Tuberculosis
พยาธิสรีรวิทยา
Pneumonia เกิดการอักเสบและทำให้ปอดแข็ง (consolidation) ลมจะเต็มไปด้วนหนองและเชื้อโรคหลอดเลือดฝอยที่ผนังถุงลมถูกทำลายและมีขนาดเล็กลงเนื้อปอดมีสีเทาเรียกว่า hepatization เกิดภาวะ hypoxemia
Tuberculosis มีการอักเสบเกิดหนอง (abscess) ทำให้เนื้อเยื่อปอดเกิดเป็นเนื้อตาย (necrosis) และกลายเป็นโพรง (cavity)
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย
ไข้สูง หนาวสั่น
ไอ
เสมหะเหนียวข้น มีสีเหลือง อาจมีกลิ่นเหม็นบางครั้ง มีเลือดปน
เจ็บหน้าอก (pleural pain)
breath sound เบา มี crepitation
Cyanosis
Hypoxemia
Chest wall restriction
ภาวะที่มีผนังทรวงอกเคลื่อนไหวได้น้อยหรือไม่มีการเคลื่อนไหว
พยาธิสรีรวิทยา
มีการเปลี่ยนแปลงของการระบายอากาศซึ่งความรุนแรงขึ้นอยู่กับความผิดปกติของผนังทรวงอกมีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างได้ง่าย
ลักษณะทางคลีนิก
หายใจลำบาก
มีความรุนแรงมากขึ้นเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
สาเหตุ
พบในคนอ้วน
severe hyphoscoiosis คือมีความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกสันหลัง (spinal cord) และทรวงอก (thoracic)
neuromuscular disease มีกล้ามเนื้ออ่อนแรงเช่น myasthenia gravis เป็นต้น
หลักการพยาบาล
แก้ไขตามสาเหตุของภาวะนั้นๆ
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
การขับเสมหะในทางเดินหายใจ
การหายใจอย่างถูกวิธีและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะโดยใช้ลูกยางแดง
การดูดเสมหะด้วยสายดูดเสมหะ ได้แก่
-Nasopharyngeal and Oropharyngeal Suctioning
-Endotracheal and tracheostomy Suctioning
Obstructive pulmonary function
ภาวะที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
กลุ่มที่รูท่อทางเดินหายใจอุดตัน
ภายในของรูท่อทางเดินหายใจอุดตันเนื่องจากการมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ จำนวนมากหรือการสำลักน้ำ หรือสารบางอย่างเข้าไปในรูท่อทางเดินหายใจ
-ทำให้ตีบหรือแคบซึ่งจะมีผลต่อการไหลของอากาศหายใจ
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรียไวรัสและอื่นๆ
การระคายเคืองจากสารพิษ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม
การได้รับบาดเจ็บต่อท่อทางเดินหายใจ
การสูบบุหรี่
เนื้องอก
ต่อมน้ำเหลืองโตเบียดท่าทางเดินหายใจ
พยาธิสรีระวิทยา
เมื่อมีการระคายเคืองหรือติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
หรือกรณีมีเนื้องอกหรือก้อนโตเบียดท่อทางเดินหายใจ
ลักษณะทางคลินิก
ไข้สูง หนาวสั่น
ไอ มีเสมหะเหนียวขัน
Hyperinflation
หายใจลำบากมีเสียง wheeze
Breath Sound เบา
หายใจเสียงดัง stridor หน้าอกนุ่ม (sternal and intercostal retraction
Tachycardia
Tachypnea
Residual volume เพิ่มขึ้น
Sever hypoxia
กลุ่มที่ผนังท่อทางเดินหายใจบวมหรือหดตัว
ผนังท่อทางเดินหายใจบวม หรือหดตัวทำให้เกิดภาวะอุดกันของทางเดินหายใจได้
ซึ่งอาจเป็นอย่างเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
เช่น Asthma
Chronic bronchitis เป็นต้น
Chronic Bronchitis
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรียไวรัส 2. การแพ้ยาสารบางอย่างอากาศเย็น 3. การสูบบุหรี่ 4. ภาวะเครียด 5. การออกกำลังกาย)
พยาธิสรีรวิทยา
การติดเชื้อการระคายเคืองของเยื่อบุหลอดลม (bronchial mucosa) เรื้อรังทำให้เยื่อบุหลอดลมหนาและแข็งมีเสมหะมากทำให้รูหลอดลมดิบแคบเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจหากเกิดเรื้อรังเกิดการทํางานของหัวใจล้มเหลวจากการทำหน้าที่ของปอดผิดปกติเรียกว่า Corpulmonale ทำลายพบได้ใน chronic bronchitis
การแพ้ยาสารบางอย่างมีการหลั่งสารเคมีจากปฏิกิริยาภูมิแพ้
ลักษณะทางคลินิก
ไอ มีเสมหะเหนียวข้น
mild hyperinflamation
มี corpulmonale และ palucytemia (Hct สูงขึ้น) ในราย chronic bronchitis
hypoxia, cyanosis
hypercapnia
CXR: slight overdistention
Pulmonary function test: residual volume increase, FEV decrease
กลุ่มที่มีแรงดันบริเวณรอบๆ นอกท่อทางเดินหายใจ
เป็นสาเหตุทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจเนื่องจากมีการสูญเสียแรงดึงตัวของผนังถุงลม (alveolar)
ซึ่งพบได้ในโรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD) คือมีลมหรืออากาศอยู่ในส่วนของ terminal bronchiole และมีการทำลายผนังของถุงลมจึงทำให้มีลักษณะโป่งออกของถุง
ถุงลมโป่งพอง (emphysema)
Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD)
สาเหตุ
smoking
air pollution
occupation
infection
familial & genetic factor: alph
พยาธิสรีรวิทยา
ผนังถุงลมและ pulmonary capillary ถูกทำลายสูญเสียความยืดหยุ่นบางลง และฝ่อ นอกจากนี้ยังมีการทำลายเนื้อปอด (parenchyma) ปอดเสียความยืดหยุ่นทำให้มีแรงดันเพิ่มขึ้นกดบริเวณรอบนอกของท่อทางเดินหายใจ มีผลให้แรงต้านทานการไหลของอากาศในถุงลมเพราะว่าถุงลมไม่สามารถแฟบได้ ทำให้ถุงลมมีขนาดใหญ่ การหายใจออกลดลงและเมื่อออกแรงหายใจออกมากขึ้นจะเพิ่มแรงดันไปกด bronchi และ bronchiole ทำให้หลอดลมใหญ่และเล็กแฟบด้วยความสามารถในการ diffusion ลดลง
ลักษณะทางคลินิก
Dyspnea
pink pufters
ทรวงอกมีลักษณะ barrel chest
PCO2 ปกติ แต่ในระยะหลัง PCO2 เพิ่มขึ้น
Hypoxemia ขนาดน้อยหรือปานกลาง
Pulmonary function test : FEV decrease, residual volume increase,, functional residual capacity increase, vital capacity decrease
Hb ปกติ
หลักการพยาบาล
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
การแก้ไขภาวะของ Hypoxemia
แนะนำภาวะโภชนาการ
แนะนำการปฏิบัติตนให้หลีกเลี่ยงสาเหตุนำต่างๆ
ภาวะการหายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การที่ระบบหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ระบายอากาศและแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
จะมีระดับ O2 ในเลือดแดง (Pa O2) ต่ำกว่าปกติ < 50-60 mmHg
และ/หรือ CO2 ในเลือดแดง (Pa CO2) สูงกว่าปกติ > 50 mmHg
และร่างกายมีความเป็นกรดมากขึ้น <7.25
Acute respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
Chronic respiratory failure การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ปอด
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
พยาธิสรีรวิทยา
การระบายอากาศน้อย (alveolar hypoventilation)
การระบายอากาศกับการไหลเวียนของเลือดไม่สมดุลกัน (V/Q) Mismatch
การลัด (right to left shunt)
การสูญเสียการซึมซ่านของก๊าซ (diffusion impairment)
อาการและอาการแสดง
Respiratory System หายใจเร็วหายใจลำบาก
Cardiovascular System ชีพจรเต้นเร็วความดันโลหิตสูงอาจมีหัวเต้นผิดปกติ
Central nervous System ระดับความรู้สึกเปลี่ยนไปสับสนไม่มีสมาธิเอะอะ: กระสับกระส่าย
Hematologic effect เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น (polycythemia) เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด
Acid-base balance เมื่อกาวะ Hypoxemia รุนแรงเลือดจะเป็นกรดมากขึ้นกระตุ้นการหายใจเร็วขึ้นเป็นภาวะ Compensate เพื่อลดความเป็นกรด
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงของภาวะการหายใจล้มเหลว
Arterial Blood Gas
Chest X-ray (CXR)
หลักการรักษาพยาบาล
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การให้ออกซิเจนแก้ไขภาวะ Hypoxemia
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
ระบบทางเดินหายใจ
กลไกลการหายใจ
ขณะหายใจเข้า
กะบังลมจะเลื่อนต่ำลงกระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น
ทำให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มมากขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่จมูกหลอดลมไปยังถุงลมปอด
ขณะหายใจออก
กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น
กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง
ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริเวณรอบๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก
อากาศในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดสู่หลอดลมออกทางจมูก
โครงสร้างของอวัยวะที่เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ท่อทางเดินหายใจและปอด
Conducting Zone เริ่มจาก trachea มาสิ้นสุดที่ terminal bronchiole
Respiratory Zone เริ่มจาก respiratory bronchiole
กล้ามเนื้อหวยใจ
กล้ามเนื้อหายใจเข้า
-Diaphragm
-External intercostal muscle
กล้ามเนื้อหายใจออก
-Abdominal muscle เช่น external / internal oblique, rectus abdominis, transversus abdominis
-Internal intercostal muscle
โครงสร้างระบบทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจส่วนบน (upper airway)
-โพรงจมูก
-คอหอย (phalynx)
-กล่องเสียง (larynx)
หน้าที่
-เป็นทางผ่านของอากาศสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง
-ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าทางเดินหายใจส่วนล่าง
-ปรับอุณหภูมิและกรองความชื้น
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (Lower airway)
-หลอดลม (trachea)
-หลอดลมเล็ก (bronchi)
-หลอดลมฝอย (bronchiole)
-ถุงลม (alveoli)
หน้าที่
-เป็นทางผ่านอากาศเข้าสู่ถุงลม
-สร้างน้ำเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
-สร้างสารเคลือบผิว (surfactant) ซึ่งบุอยู่บริเวณ alveolar cels ของปอดเพื่อไม่ให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
การทำงานของระบบหายใจมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต
รักษาสมดุลกรดด่างในร่างกาย
ขจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญออกจากร่างกายโดยการหายใจออก
นำออกซิเจนจากบรรยากาศเข้าสู่ร่างกาย
-โดยการหายใจเข้านำออกซิเจนสู่ถุงลม (Alveolar) ในปอดและมีการแลกเปลี่ยนก๊าซกับถุงลมกับเลือดเพื่อให้ออกซิเจนแก่เลือดซึ่งนำไปใช้ทำปฏิกิริยากับสารอาหารได้พลังงานสำหรับทำหน้าที่ของร่างกาย
การหายใจ
คือกระบวนการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและดาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
-เพื่อใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของเซลล์เนื้อเยื่อ
การหายใจภายใน (Internal respiration)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซที่เกิดขึ้นที่เซลล์และเนื้อเยื่อ
การขนส่งก๊าซ (Transport mechanism)
เป็นการขนส่งก๊าซออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์เนื้อเยื่อและขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เนื้อเยื่อไปขับถ่ายออกทางปอด
การหายใจภายนอก (External respiration)
เป็นการทำงานของปอดโดยมีการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลือดที่ไหลเวียนในปอดกับอากาศที่หายใจเข้าไป
Structures of the Respiratory Zone
การระบายอากาศและการไหลเวียนเลือดผ่านปอด
ในการหายใจเข้าหรือออกครั้งหนึ่งๆ ร่างกายจะได้รับอากาศเข้าหรือออกจากปอดเป็นส่วนๆ ตามปริมาตรและความจุของปอด
ปริมาตรของปอดแบ่งเป็น 4 ส่วนคือ
Inspiratory reserve Volume (IRV) คือ ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจเข้าเพิ่มได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจเข้าตามปกติมีค่าประมาณ 3,300 ml
Expiratory reserve Volume (ERV) คือ ปริมาตรของอากาศที่สามารถหายใจออกได้อีกจนเต็มที่ต่อจากการหายใจออกตามปกติมีค่าประมาณ 1,000 ml
Tidal volume (TV) คือ ปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าหรือหายใจออกในครั้งหนึ่ง ๆ ในผู้ใหญ่จะมีด่าปกติประมาณ 500 ml
Residual volume (RV) คือปริมาตรของอากาศที่ยังคงเหลือค้างอยู่ในปอดหลังจากการหายใจออกอย่างเต็มที่มีค่าประมาณ 1,200 ml
ความจุของปอด
Functional residual capacity (FRC) คือความจุปอดที่ติดเป็นปริมาตรของอากาศคงเหลืออยู่ในปอดหลังจากหายใจออกตามปกติหรือเป็นผลรวมของ ERV + RV ปกติมีค่าประมาณ 2,200 ml
Vital capacity (VC) คือความจุของปอดที่ติดเป็นปริมาตรของอากาศหายใจออกเต็มที่หลังจากการหายใจเข้าเต็มที่หรือเป็นผลรวมของ IRV + TV + ERV ปกติมีค่าประมาณ 4,800 ml
inspiratory capacity (IC) คือความจุของปอดที่ติดเป็นปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าไปได้เต็มที่หลังจากหายใจออกตามปกติหรือเป็นผลรวมของ TV + IRV ปกติมีค่าประมาณ 3,800 ml
Total lung capacity (TLC) คือความจุของปอดที่คิดเป็นปริมาตรของอากาศทั้งหมดเมื่อหายใจเข้าเต็มที่หรือเป็นผลรวมของ VC + RV ปกติมีค่าประมาณ 6,000 ml
การแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange)
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอด (Pulmonary gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศภายนอกและเลือดเพื่อรักษาระดับแรงดันย่อยของออกซิเจน (partial pressure of arterial Oxygenation: Pa02) และคาร์บอนไดออกไซด์ (partial pressure of carbon dioxide: PaCO2) ที่ละลายอยู่ในเลือดแดง (arterial blood) ให้เป็นปกติ
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับหลอดเลือดฝอย (Capillarygas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเลือดและเซลล์เนื้อเยื่อโดยมีองค์ประกอบสำคัญคือกลไกการขนส่งก๊าซในเลือด (gas transportation mechanism) และการมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ อย่างเพียงพอ (adequate tissue perfusion)
กลไกการขนส่งก๊าซในเลือด ขึ้นอยู่
ปริมาณของเม็ดเลือดแดงหรือฮีโมโกลบิน (hemoglobin; Hb) เนื่องจากออกซิเจนจะจับกับฮีโมโกลบินเรียกว่าออกซีฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin) และขนส่งออกซิเจนไปให้เซลล์ต่างๆ
หากมีภาวะซีด (anemia) จะทำให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจนได้
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ (Cellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซผ่านเข้าและออกจาก cell membrane
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับเซลล์ขนาดเล็ก (Subcellular gas exchange)
เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าซเข้าและออกจากไมโตคอนเดรีย (mitochondria) รวมถึงการเมตาโบลิซึม (metabolism) ที่ใช้ออกซิเจนในเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงานและผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
การแลกเปลี่ยนก๊าซระดับปอดจะเกิดขึ้นได้ปกติมีองค์ประกอบดังนี้
Ventilation “ V ”
(การระบายอากาศ): การที่อากาศผ่านเข้าและออกโดยการหายใจเอาอากาศเข้าไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลม (alveolar ventilation)
Diffusion
(การซึมผ่านของก๊าซ): การที่ก๊าซออกซิเจนและดาร์บอนไดออกไซด์ในถุงลมที่ปอดกับในเลือดซึมผ่าน (diffusion through alveolar capillary membrane
Perfusion “ Q ”
(การไหลเวียนของเลือด): การไหลเวียนของเลือดดำผ่านถุงลมและรับก๊าซจากปอดไปยัง pulmonary vein สู่หัวใจด้านซ้าย
การประเมินสมรรถภาพของระบบหายใจ
(Pulmonary function test)
เป็นการตรวจที่สำคัญสำหรับการวินิจฉัย, ประเมินและติดตามผลการรักษาโรดระบบการหายใจ
-เช่นโรคหิด, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคปอดจากการทำงานเป็นต้น
บ่งถึงการเสื่อมของการทำงานของปอดก่อนที่อาการแสดงทางคลินิกจะเริ่มปรากฎเนื่องจากปอดเป็นอวัยวะที่มีความสามารถสำรองสูง
การประเมินสมรรถภาพของระบบการหายใจ (Pulmonary function
test)โดยใช้มาตรวัดปริมาตรอากาศหายใจเขา้และออก
การประเมินก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas)
ผู้ป่วยหนักและรุนแรง ใน ICU
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
ผู้ป่วยในระหว่างการดมยา
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยท่ีมีภาวะเสียสมดุลกรด ด่าง
-ท้องร่วงรุนแรง
-ได้รับสารพิษ
PaO2 (Oxygenation ค่า 80 - 100 มิลลิเมตรปรอท ) -บอกปริมาณออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
SaO2 ( ค่า 98 – 100 %)
-บอกออกซิเจนและความเข้มข้นของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง
PH ความเป็นกรด-ด่างในเลือด (7.35-7.45)
PaCO2 ( Ventilation function : บอกหน้าท่ีการทางานของปอด = 35-45)
HCO3 ( Metabolic function = 22-26)
Baseexcess(BE±2.5)ยนืยนัความเป็นกรด-ด่าง
ขั้นตอนการวิเคราะห์
ขั้นท่ี 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status)
ขั้นท่ี 2 ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system)
ขั้นท่ี 3 ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system)
ขั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย
ขั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูจากค่า PaO2