Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
HIV, บทความการดูแลสุขภาพ. (ม.ป.ป.). การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระ…
HIV
การรักษา
-
-
-
-
-
การเลือกใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ ปัจจุบันมีการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ร่วมกันมากกว่า 1 ชนิด ส่วนใหญ่จะใช้ 3 ตัวขึ้นไป
- Nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NRTI)
- Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NNRT)
- Protease inhibitor (PI)
- Fusion Inhibitors
-
พยาธิสภาพ
เชื้อเอชไอวีมีความสามารถในการติดเชื้อ ที T helper cell (CD 4+) ได้ดีกว่า เซลล์ชนิดอื่นโดยอาศัยการจับกันระหว่าง GP 120 ขอบเปลือกนอกของไวรัสกับ CD 4 molecule ที่อยู่บนผิวของ T helper cell แบ่งตัวแล้วแยกตัวเป็นเซลล์เอชไอวีใหม่ออกมาจาก T helper cell และ T helper cell ก็จะถูกทำลายไป
อีกกลไกหนึ่ง คือ แอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวี จะจับเชื้อเอชไอวี แล้ว antibody-coated HIV จะถูกฟาโกซัยท์ จับกินเข้าไปที่เชื้อเอชไอวีไม่ถูกทำลายในฟาโกซัยท์ แต่จะอาศัยอยู่ในฟาโกซัยท์เลย
-
อาการ
- กลุ่มที่เกิดอาการเจ็บป่วยรวดเร็วและรุนแรง
อาจมีอาการตั้งแต่อายุ 2-3 เดือน ได้แก่ เลี้ยงไม่โต มีเชื้อราในช่องปาก อุจจาระร่วงเรื้อรัง ปอดอักเสบ เป็นต้น
ทารกกลุ่มนี้ได้รับเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา และไวรัสทำลายการพัฒนาของ ระบบภูมิคุ้มกัน เด็กมักเสียชีวติภายใน 1-2 ปีแรก จากภาวะแทรกซ้อนทางปอด
- กลุ่มที่มีการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไป
-
ได้แก่ น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ปอดอักเสบ ต่อมน้ำลายอักเสบ ผื่นคันบริเวณผิวหนัง เป็นต้น
-
การวินิจฉัย
การตรวจพบAntibodyต่อเชื้อ HIV ในทารกที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อไม่สามารถยืนยันได้ว่า ทารกนั้นติดเชื้อ เนื่องจาก Antibody ของแม่นั้นสามารถผ่านไปสู่ลูกและอยู่ได้นานถึง 18 เดือนหลังคลอด หลักการวินิจฉัย มีดังนี้
1.การได้ผลบวกของการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเชื้อไวรัส ในกรณีที่ให้ผลลบ จำนวน 2 คร้ัง เมื่อทารกอายุมากกว่า4 เดือน แปลผลได้ว่า ทารกไม่ติดเชื้อHIV
- การตรวจพบ Antibody จำเพาะต่อเชื้อ HIV ในเด็กอายุตั้งแต่ 18 เดือน แต่ถ้าตรวจไม่ พบ Antibody จำเพาะเชื้อ HIV ในเด็กที่มีอายุมากกว่า 12 เดือน แปลผลได้ว่า เด็กไม่ติดเชื้อ HIV การวนิจฉัยโรคก่อนอายุ 18 เดือน แนะนำให้ส่งเลือดตรวจ Polymerase chain reaction (PCR) ชนิด ที่หา DNA ของเชื้อHIV
ความหมาย
การติดเชื้อHIV เป็นภาวะที่ร่างกายได้รับเชื้อเอชไอวี แล้วทําให้ ทีเฮลเปอร์ลิมโฟซัยต์(T-helper lymphocyte) ถูกทําลายและมีจํานวนลดลงเป็นผลให้เกิดภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่องและติดเชื้อต่างๆได้ง่าย โดย เฉพาะเชื้อฉวยโอกาส เมื่อผู้ป่วยเด็กมีการติดเชื้อรุนแรงหรือติดเชื้อซํ้าๆ แสดงว่าเริ่มมีอาการเข้าสู่ ระยะของโรคเอดส์โดยอาจมีอาการแสดงช้าหรือเร็ว
-
วิลาวัณย์ พิเชียรเสถียร. (2551). การพยาบาลเด็ก 2 หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคติดเชื้อ. สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม 2564, จาก http://portal.nurse.cmu.ac.th
-