Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การปฐมพยาบาลเบื่องต้นและการทำหัตถการเบื้องต้น, นายสุริยา กงใจเด็ด…
บทที่ 4 การปฐมพยาบาลเบื่องต้นและการทำหัตถการเบื้องต้น
ชนิดของการทำหัตถการที่อยู่ในขอบเขตของวิชาชีพการพยาบาลและดุงครรภ์ชั้นหนึ่งที่สามารถปฏิบัติได้
1.การทำแผล
2.การตกแต่งบาดแผล
3.การเย็บแผล
การตัไหม
5.การ่าฝีในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะ
6.การถอดเล็บ
7.การจี้หูดหรือตาปลา
8.การผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวันวะสำคัณของร่างกายออกโดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
9.การล้างตา
10.การสวนกระเะาะปัสสาวะ
11.การล้างกระเพาะอาหารโดยใช้สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ
12.การตรวจหลังคลอดและทำPAP Smear
แนวทางในการประเมินสภาพบาดแผลตามลักษณะบาดแผลชนิดต่างๆ
การประเมินบาดแผล
วัตถุประสงค็ของการทำแผล
การจำแนกชนิดของบาดแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของการทำแผล
แผลแบบแห้ง (Dry Dressing)
แผลสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่มีการ อักเสบเป็นแผลเล็ก ๆ ที่ไม่มีสิ่งขับหลั่งมาก
2.แผลแบบเปียก Wet Dressing
แผลที่มีลักษณะเป็นแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อแผลที่มี่สิ่งขับหลั่งมาก ซึ่งการปิดแผลขั้นแรกจะใช้วัสดทุมี่ความชื้น เช่น ก๊อสชุบน้ำเกลือ(0.9% normal saline)
การจำแนกชนิดของบาดแผลชนิดต่างๆ Classsification Of Wound
1.แผลถลอก Abrasion wound
2.แผลฉีกกระชาก Avulsion wound
3.แผลฟกช้ำ contusion wound
4.แผลตัด Cut wound
5.แผลฉีกขาด กระรุ่งกระริ่ง Laceration wound
6.แผลถูกแทง Puncture หรือ Penetrating wound
7.แผลถูกยิง Gunshot wound
8.แผลถูกตัดขาด Amputation wound
9.แผลเบ็ดเกี่ยว Fish hook wound
10.แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก Burn
การเย็บแผล
ชนิดของการเย็บแผล
1.เย็บแบบธรรมดา Simple Suture เย็บแผลที่มีขนาดเล็ก ผิวหนังทั่วไป
2.เย็บแบบซ้อน Mattress Suture เป็นการเย็บแผลแบบแข็งแรง บาดแผลลึกและยาว ส่วนมากจะเย็บบริเวณข้อต่อเพื่อต้องการความแข็งแรง
บาดแผลที่ไม่ควรเย็บ สุนัขกัด ลิงกัด แมวกัด ตกน้ำคร่ำ แผลติดเชื้อ แผลนานเกิน 12 ชม.
ชุดเย็บแผลประกอบด้วย Tooth Forceps 1 อัน Non Tooth Forceps 1อัน Needle holder 1 อัน กรรไกรตัดไหม 1 อัน ไหมเย็บ ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ก๊อซ สำลี
สารละลายSolution ยาฆ่าเชื้อ น้ำเกลือล้างแผล NSS 0.9% แอลกอฮอล์ 70 % betadine
เข็มเย็บแผลมี 2 ชนิด
1.Taper-point round มีรูปร่างกลมทะละทะลวงน้อยกว่าใช้เย็บลำใส้ อวัยวะภายใน เนื้อเยื่ออ่อน
2.Cutting และ reverse cutting จะมีความแหลมคมสามารถทะลุทะลวงเนื้อเยื่อได้ง่ายมักใช้เย็บผิวหนังด้านน้อกหนังกำพร้า
ชนิดของวัสดุเย็บแผล (suture materials)
1.absorbable (ละลายได้) ร่างกายสามารถย่อยสลายดูดซึมได้ เช่น catgut
2.non-absorbable (ไม่ละลาย) เช่น nylon polyester และ stainless steel
ยาชาเฉพาะที่
เพื่อให้เกิดการชาเฉพาะที่ระหว่างเย็บแผล
ถามประวัติแพ้ยา การคำนวนการใช้ 5-7 mg×นน.ตัว÷10 ถ้าเป็น1%=10mg/1 cc ถ้าผสม Adrenaline ระวังการใช้ในอวันวะส่วนปลายเต้านม อวัยวะเพศ ใบหู
การตัดไหม
บริเวณใบหน้าประมาณ 5 วัน
หนังศีรษะ7-10 วัน
บริเวณที่มีการเคลื่อนไหว ข้อเข่า ข้อมือ ประมาณ 10-14 วัน
วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
ถ้าเกิน10ปีให้เริ่มฉีดใหม่ 3 เข็ม เข็มแรกฉีดวันที่มา เข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 1 เดือน เข็มที่ 3 ห่างจากเข็มที่ 2 ระยะเวลา 6 เดือน
การถอดเล็บ
สาเหตุที่ต้องรักษาด้วยการถอดเล็บ
1.เป็นเล็บขบซ้ำๆหรือเล็บขบที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยากินและยาทา
2.ประสบอุบัติเหตุที่เล็บทำให้เล็บฉีกขาด
3.การติด เชื้ออย่างรุน แรงที่เล็บ เช่น เชื้อราที่เล็บ
4.ความผิดปกติของเล็บอื่นๆ ที่แพทย์ลงความเห็นให้ถอดเล็บ
การผ่าฝี Incision&Drain (I&D)
1.วัตถุประสงค์การผ่าฝี
1.ระบายหนองออก
ลดอาการอักเสบ
2.สาเหตุการเกิดหนอง
1.ตะปูตำ หนามตำ ไม้เสียบลูกชิ้นตำ
2.Sebaceous Cyst Infected
3.Abscess
4.Infection Wound
5.Foreign Body Silk
หลังจากผ่าฝีแนะนำผู้ป่วยล้างแผลทุกวัน ทานอาหารประเภทโปรตีน
ยาที่จ่ายให้ผู้ป่วยผ่าฝี Dicloxacillin 250-500mg 1*4 ac จำนวน 5-7 วัน
การเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตราย
1.การเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่หูออก
1.ถ้าสังเกตเห็นสิ่งแปลกปลอมได้ดวยตาเปล่าชัดเจน และไมไดเป็นของแข็ง อาจลองใช้ปากคีบคีบวัตถุนั้นออกอย่างเบามือ ภายใต้แสงสว่างอย่างพอเพียง
2.ห้าม ใช้ไม่พันสำลีก้านไม้ขีด ไฟหรือวัตถุอื่นใด เขี่ยวัตถุออกเอง เพราะอาจทำให้สิ่งแปลกปลอมหลุด ลกลงไปมากขนจนเป็นอันตรายต่อแก้วหูและหูชั้นกลางได้
3.อาจเอียงเอาหูข้างนั้นลงต่ำและค่อยๆโยกศีรษะในแนวดิ่งเบาๆ เพื่อให้สิ่งแปลกปลอมหลุด ออกมาเอง
4.หาก เป็นแมลงเขาหูให้เอาศีรษะข้างนั้นขึ้นและใช้น้ำมันทำตัวเด็กหรอน้ำมันมะกอก ใส่ไปในรูหูโดยดึงใบหูไปทางด้านหลัง เพื่อให้รูหูอยู่ในแนวตรง เพื่อให้แมลงหันขึ้นมา หรือลอยขึ้นมาได้
5.ห้าม ใช้น้ำหรือน้ำมันไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์รอของเหลวอื่นๆ ใสไปในรูหู ในกรณีอื่น โดยเฉพาะถ้าสงสัยว่าแก้วหูทะลุ เช่น มีเลือดออก มีน้ำไหล
2.การเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตาออก
อย่าขยี้ตา
ลืมตาในน้ำสะอาด หรือล้างตาด้วยน้ำอุ่น หรือน้ำยาบอริค 3% หรือน้ำเกลือ
ถ้ามองเห็นสิ่ง แปลกปลอมอยู่ใหเปิดเปลือกตาขึ้น ใช้มุม ผาบาง ๆ ที่สะอาดหรือใช้สำลีพันปลายไม้เขี่ยออก
ถ้าสิ่งแปลกปลอมติด อยู่ในเปลือกตาบน ให้จบและดงเปลือกตาบนด้วยนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้พบหนังตาบนด้วยไม้พันสำลีบอกให้ผู้บาดเจ็บมองลงต่ำจะเห็นบริเวณเปลือกตา และดวงตาจากนั้นใช้ผ้าสะอาดเขี่ยสิ่งแปลกปลอมออก
เมื่อสิ่งแปลกปลอมที่เข้าตาออกเรียบร้อยแล้วควรล้างตาด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำอุ่นปริมาณมากๆ
3.การเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในจมูกออก
1.อย่าใช้นิ้วหรือไม่แคะออก เพราะจะทำให้วัตถุนั้นเลื่อนลงไปอีก
ให้ปิดจมูกข้างหนึ่งแล้วสั่งแรง ๆวัตถุนั้นก็อาจจะหลุดออกมาได้
ถ้าวัตถุนั้นอยู่ลึกมาก สั่งไม่ออก ให้รีบปรึกษาแพทย์ให้แพทย์ช่วยเอาออกโดยใช้เครื่องมือที่งอเป็นตะขอ (Nasal hook)เขี่ยออก
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1.การปฐมพยาบาลผู้ได้รับอันตรายจากสิ่งมีพิษ
สารพิษ (Poisons)หมายถึง สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ
กลุ่มที่ 1 ออร์กะโนฟอสเฟต มีฤทธิ์ยับยั้งการท างานของเอ็นซยัม์โฆลีนเอสเตอเรสแบบถาวร เมื่อได้รับทั้งทางปาก ผิวหนัง และสูดดม จะมีอาการ คลื่นไส้ วิงเวียน อ่อนเพลีย
การรักษา-ใช้อะโธรปีน ซัลเฟต ร่วมกับ2 PAM (pralidoxime )
กลุ่มที่ 2 คาร์บาร์เมต มีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอ็นซัยม์โฆลีน เอสเตอเรสแบบชั่วคราว ระยะเวลาออกฤทธิ์สั้น และสลายตัวเร็ว ทำใหความเป็นพิษ ลดลง เมื่อได้รับทางปาก ผิวหนังและสูดดม จะมีอาการ มึนงง ปวดศรีษะอ่อนเพลีย กระวนกระวาย
การรักษา ใช้อะโธรปีน ซัลเฟต 2-4 มิลลิกรัม ฉีดเป็นระยะทุกๆ 10-15 นาที จนกระทั่งผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น ไม่ต้องใช้สารพวก 2-PAM
กลุ่มที่ 3 ออร์กะโนคลอรีน เรารู้จักกันดีก็คือ ดีดีที อาการพิษ เฉียบพลัน ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ป่วยจะไวต่อสิ่งเร้ามาก กระวนกระวาย เวียนศีรษะ เสียการทรงตัว บางครั้งมีการชัก เกร็ง อาจตายด้วยระบบหายใจล้มเหลว
การรักษา ไม่มียาแก้พิษโดยเฉพาะ รักษาตามอาการ สำหรับรายที่มีอาการหนักแก้ด้วยไดอะซีแพม ห้ามให้ยาพวกstimulants เชน่ epinephrine
กลุ่มที่ 4 ไพรีทรอยด์หรือไพรีทรัม จะทำให้เกิด การชักกระตุกและเป็นอัมพาต อันตรายอาจเกิดจากตัวทำละลาย เช่น น้ำมันก๊าด ซึ่งมีพิษมากกว่าพัยรีธรัม
การรักษา ล้างกระเพาะอาหาร ด้วย 5% sodium bicarbonate สงัเกตอาการอาจให้ diazepam เพื่อแก้อาการชัก ถ้าผู้ป่วยหายใจไม่ออก ให้ออกซิเจนและอะโธรปีนซัลเฟต
ยาฆ่าหญ้า อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย มีแผลบวมแดงในปากภายใน 1-4 วันผู้ป่วยมีอาการไตวาย ปัสสาวะน้อย มีอาการของพิษต่อตับ
ผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับพาราควอตทางปาก 1.ควรจะรีบล้างท้องให้ดินเหนียว Fuller's earth 150 กรัม ผสมน้ำ 1 ลิตรทางปาก หรือ Activated charcoal 2 กรัม/1กก.2. ให้ร่วมกับยาระบาย ทุก 4-6 ชั่วโมงจนผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ ถือกันว่าขั้นตอนนี้ป็นขั้นตอนที่สำคัญ ที่สุดการให้ดินโดยเร็วจึงเป็นการลดพิษที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
ทางเข้าของสารพิษ
1.ทางเข้าสุู่ร่างกายทางปาก
ทำให้สารพิษเจือจางรีบนำผูป่วยส่งโรงพยาบาลภายใน 15 นาที การทำให้อาเจียน การใช้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหาร
ดื่มน้ำ
ดื่มนม
Activated Charcoal
2.ทางเดินหายใจ
นำผู้ป่วยออกมาสู่ที่อากาศถ่ายเทสะดวกให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ทางผิวหนัง
ล้างบริเวณที่ถูกสารพิษด้วยน้ำไหลผ่านจำนวนมาก
2.การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสัตว์มีพิษ
ต่อ ผึ้ง แตน อาการ ปวด บวม แดง ร้อน
การปฐมพยาบาล
1.ทาแผลด้วย antihistamine cream หรือแอมโมเนียหอม 2.ใช้น้ำแข็งประคบเพื่อลดปวด 3.ถ้าปวด บวม คัน มาก ต้องรีบไปโรงพยาบาล
3.การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากแมงกระพรุน
ห้ามใช้นิ้วดึงเข็มออก ใช้น้ำส้มสายชูราดไปที่แผล ไม่ใช้น้ำร้อนประคบ ใช้ทรายหรือผักบุ้งทะเลถูเมือกออก ล้างด้วยสบู่ ทาด้วยแอมโมเนียหรือเพรดนิโซโลน รีบนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
4.การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากงูกัด อาการเกิดขึ้นได้ 3 ทาง 1.พิษต่อประสาท 2.พิษต่อโลหิต 3.พิษต่อกล้ามเนื้อ
การปฐมพยาบาล ล้างแผลด้วยน้ำสบู่ บีบเลือดออกให้มากที่สุด ไม่ควรรัดเหนือ/ใต้บาดแผล ใช้ผ้าสะอาดกดเพื่อห้ามเลือด เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด ให้ยาแก้ปวด รีบนำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลผู้ที่ที่มีกระดูกหัก
อาการและ อาการแสดง
ของกระดูกหัก ปวด บวม ร้อน กดเจ็บหรอือาจมีรอยฟกช้ำบริเวณที่กระดูกหัก เคลื่อนไหวผิดปกติ อวัยวะกระดูกผิดรูป
กระดูกหักแบบปิด คือกระดูกที่หักแล้วไม่แทงทะลุผิวหนังออกมาและไม่มีแผลบริเวณที่หัก
กระดูกหักชนิดเปิด คือกระดูกหักแล้งแทงทะลุผิวหนังและมีแผลบริเวณที่หัก
นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4