Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ (Drugs used in respiratory system) -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ (Drugs used in respiratory system)
ยารักษาโรคหืด (antiasthmatic drugs)
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
Sympathomimetics agents
Adrenaline (epinephrine)
การออกฤทธิ์ : กระตุ้น α-receptors และ β-receptors
ข้อบ่งใช ้: รักษาภาวะหดเกร็งของหลอดลมการแพ้ชนิด anaphylaxis
ผลข้างเคียง : ความดันโลหิตสูง ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ ใจสั่น ปวดศีรษะ
Bambuterol
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง: อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
ข้อควรระวัง: ผู้ป่วยโรคหืดที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง โรคเบาหวาน
Salbutamol
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors ออกฤทธิ์สั้น
ผลข้างเคียง: มือสั่น ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ตะคริวที่
กล้ามเนื้อ อาจเกิดภาวะโปตัสเซี่ยมในเลือดต่ำแบบรุนแรง อาการไม่อยู่นิ่งในเด็ก การระคายในปากและคอ
Salmeterol
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง: ปวดศีรษะ ไอ มือสั่น เวียนศีรษะ คอแห้ง ระคายคอ อาจพบใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว แสบยอดอก ท้องเสีย
Terbutaline
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors ทําให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม และกล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
ผลข้างเคียง: ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
Fenoterol
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors
ผลข้างเคียง: กระสับกระส่าย มึนงงเนื่อยล้า หัวใจเต้นเร็ว แสบอก กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ยาอาจทําให้ปากแห้ง ควรบ้วนปากทุกครั้งหลังใช้ยา
Procaterol
การออกฤทธิ์: กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง: อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
Methylxanthines
ยา: theophylline, aminophylline
ฤทธิ์ต่อหลอดลม ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจและหลอด เลือด ไต ทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์ : • ยับยั้งเอนไซม์ phosphodiesterase → เพิ่ม cAMP → หลอดลมขยายตัว
อาการไม่พึงประสงค์:
ระบบประสาทส่วนกลางมาก เช่น นอนไม่หลับ สั่น ชัก กระวนกระวาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น หัวใจเต้นเร็ว บีบตัว แรง
หายใจเร็วผิดปกติ หน้าแดง ความดันโลหิตต่ำ ปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย
Anticholinergic drugs
ยา: ipratropium
การออกฤทธิ์: ยับยั้ง acetylcholine จับกับ muscarinic receptors ที่หลอดลม ลดการเกร็งของหลอดลม
อาการไม่พึงประสงค์:
ระคายเคืองคอ หลอดลมอักเสบ หัวใจเต้นผิดปกติ ไอ ปากแห้ง ท้องผูก คลื่นไส ้ อาเจียน
ปัสสาวะคั่ง
เพิ่มความดันภายในลูกตา
รูปแบบยาพ่นจมูก: จมูกแห้ง เลือดกําเดาไหล
ยาขับเสมหะ (expectorants)
Ammonium chloride
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคตับ
อาการไม่พึงประสงค์: ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ซึมเศร้า ง่วงหลับ ชีพจรเต้นช้า ท้องผูก
ข้อควรระวัง: สังเกตการหายใจ เพื่อประเมินภาวะความเป็นกรดในเลือด
Guaifenesin (glyceryl guaiacolate)
อาการไม่พึงประสงค์: พบน้อย คลื่นไส ้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ ผื่นแพ้ ท้องเสีย ไม่สบายท้อง
ยาละลายเสมหะ (mucolytics)
Acetylcysteine
ทําลายพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะ ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหอบหืด
อาการไม่พึงประสงค์: กล้ามเนื้อหลอดลมหดเกร็ง ไม่สบายท้อง เยื่อบุช่องปากอักเสบ นํ้ามูกไหล ปวดหัว หนาวสั่น มีไข ้
Carbocysteine
ทําลายพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะ ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารที่ยังมีอาการของโรค
อาการไม่พึงประสงค์: ความผิดปกติในทางเดินอาหาร แบบไม่รุนแรง เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้
Bromhexine
อาการไม่พึงประสงค์: คลื่นไส ้ โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ยา
ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคกระเพาะอาหาร
Ambroxal
อาการไม่พึงประสงค์
-ขนาดสูงๆ อาจพบอาการคลื่นไส ้ อาเจียน ปวดหัว
-ขนาดปกติ พบอาการน้อยมาก
-ใช้ติดต่อกันนานๆ อาจพบอาการแน่นท้อง ท้องเสีย จุกเสียด
ยาระงับอาการไอ (antitussive drugs)
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ทําให้เกิดการเสพติด
Codeine
ประสิทธิภาพสูง ยาในขนาดต่ำา สามารถใช้บรรเทาอาการปวดแบบปานกลาง
อาการไม่พึงประสงค์: กดศูนย์การหายใจ ง่วงนอน มึนงง ท้องผูก หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่าทาง เมื่อใช้เวลานานเกิดการดื้อยา ติดยา คลื่นไส ้ อาเจียน
ข้อควรระวัง:
-กดศูนย์การหายใจ → สังเกตและฟังเสียงหายใจ
-ผู้ป่วยโรคหอบหืด โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง
Dextromethorphan
กดศูนย์การไอในสมอง
-ประสิทธิภาพระงับอาการไอ < codeine
-ขนาดยาปกติไม่ทําให้เกิดการเสพติด
-ไม่มีฤทธิ์แก้ปวด
อาการไม่พึงประสงค์: หากได้รับยาขนาดสูงๆ จะมีอาการ ซึม มึนงง ง่วงนอน กดการหายใจ คลื่นไส้ อาเจียน
ไม่ทําให้เกิดการเสพติด
Diphenhydramine
จัดอยู่ในกลุ่มยาต้านฮีสตามีน H1-receptor
ข้อบ่งใช ้: ระงับอาการไอ ที่เกิดร่วมกับอาการคัดจมูกและจาม
อาการไม่พึงประสงค์: ง่วง ซึม ปากแห้ง คอแห้ง มึนงง
ข้อควรระวัง : อาการคอแห้ง ทางเดินหายใจแห้ง , อาการง่วง ซึม
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
ยาลดอาการคัดจมูก (nasal decongestants)
Sympathomimetic drugs
ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย : ยากิน
ออกฤทธิ์ช้ากว่ารูปแบบยาใช้เฉพาะที่
อาการไม่พึงประสงค์: หัวใจเต้นเร็ว นอนไม่หลับ มึนงง ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย ปลายมือ-เท้าเย็น
ระวังการใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้อหิน โรคหัวใจ ต่อมลูกหมากโต ต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ มีความผิดปกติทางอารมณ์
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ : ยาพ่น/หยอดจมูก
ออกฤทธิ์เร็วกว่ารูปแบบยาออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
ห้ามใช้ติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
อาการไม่พึงประสงค์: rebound congestion เจ็บ คัน แสบร้อน เยื่อบุภายในจมูกแห้งเกินไป
ยา
Phenylephephrine : นิยมใช ้ ผลข้างเคียงน้อย
Pseudoephedrine : จะมีใช้เฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น
Naphazoline : ความแรงมากกว่า phenylephrine เกิดการคัดจมูกง่ายกว่าชนิดอื่น ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
Fluticasone : ระวังการใช ้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่อาการไม่พึงประสงค์: เลือดกําเดาไหล แผลเยื่อบุจมูก ปวดหัว
Beclomethasone : รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
อาการไม่พึงประสงค์: จมูก ลําคอแห้ง ระคายเคืองง่าย จาม เลือดกําเดาไหล ปวดหัว แผลเยื่อบุจมูก
Budesonide : รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
อาการไม่พึงประสงค์: เลือดกําเดาไหล จมูกแห้ง จาม
Triamcinolone : รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
อาการไม่พึงประสงค์: เลือดกําเดาไหล เยื่อบุจมูกแห้ง จาม ปวดหัว น้ำมูกไหล ระคายเคืองภายในจมูก
ยาแก้แพ้และยาต้านฮีสตามีน (anti-allergic drugs & antihistamines)
กลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ยาจับกับ H1-receptors ทั้งภายในระบบประสาทส่วนกลางและ ภายนอกระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อบ่งใช ้: ลดน้ำมูก แก้แพ้ ลมพิษ เมารถ คลื่นไส ้อาเจียน คลาย เครียด (ช่วยให้นอนหลับ) เพิ่มความอยากอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์: ง่วงนอน ปากแห้ง คอแห้ง มึนงง ในเด็กอาจให้ผลตรงข้าม คือ ตื่นตัว
2.กลุ่มที่ไม่มีฤทธิ์ทําให ง่วงนอน
ยามีความจําเพาะต่อการจับกับ H1-receptors ภายนอกระบบ ประสาทส่วนกลางมากกว่าภายในระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อบ่งใช ้: ลดน้ำมูก แก้แพ้ ลมพิษ
ออกฤทธิ์ช้ากว่ากลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน แต่ออกฤทธิ์นานกว่า ไม่เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง มึนงง
ตัวอย่างยา: cetirizine, loratadine, fexofenadine, desloratadine, levocetirizine