Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ
Vacuum Extraction delivery
หมายถึง การทาคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ โดยผู้ทาคลอดออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะทารกด้วยระบบสุญญากาศ เป็นการเสริมแรงเบ่งผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
1.ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
2.มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
3.Prolong 2nd stage of labor
4.ผู้คลอดมีโรคประจาตัว
5.ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP)
**ข้อห้าม
ภาวะ CPD
ส่วนนาทารกอยู่สูง
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
มีภาวะ fetal distress
ภาวะแทรกซ้อน
การฉีกขาดของปากมดลูก
PPH
Infection
Cephalhematoma
Caput succedaneum
Scalp abrasion/laceration
การพยาบาล
ขณะแพทย์ใส่เครื่องดูดสุญญากาศ ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง (ให้ผู้คลอดหายใจเข้าออก ลึกๆ)
เมื่อแพทย์วางถ้วยสุญญากาศในตาแหน่งที่เหมาะสมและต่อสายยางเข้าเครื่องดูดเรียบร้อย จะเริ่มลดความดันจนถึง 0.8 กก./ตร.ซม พยาบาลต้องจับเวลาในขณะที่เครื่องลดความดัน
เมื่อทาการลดความดันครบตามเวลา และได้ความดันที่ต้องการแล้ว ขณะมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งพร้อมกับแพทย์ที่เริ่มดึงถ้วยสุญญากาศ
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งขณะแพทย์กาลังตัดฝีเย็บ หลังจากนั้นกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูกจนกะทั่งศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่ง
Forceps Extraction delivery
หมายถึง การใช้คีมจับที่ศีรษะทารกให้กระชับและเหมาะสม เพื่อช่วยคลอดศีรษะทารกโดยไม่ทาให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารก เป็นการใช้แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า
ภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด
Prolong 2nd stage of labor
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
**ห้าม รายที่มีการผิดสัดส่วนของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (CPD) / เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้คลอด
การฉีกขาดช่องทางคลอด
อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
การแยกของกระดูกหัวหน่าวและ sacroiliac joint ทาให้ปวดหัวหน่าวหรือหลังส่วนล่าง
การหย่อนของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดมดลูกหย่อนได้
PPH
Infection จากการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ทารก
อันตรายต่อสมองทารก
อันตรายต่อศีรษะทารก
อันตรายต่อเส้นประสาทบริเวณหน้า
การพยาบาล
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
ขณะแพทย์ใส่คีม ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง (ให้ผู้คอดหายใจเข้าออกลึกๆ)
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งเมื่อศีรษะทารกมาตุงที่ฝีเย็บและแพทย์กาลังตัดฝีเย็บ
แนะนาการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
Placenta removal
การล้วงรก (manual removal of placenta)
เป็นหัตถการสาคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
ข้อบ่งชี้
1.ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที และเลือดออกไม่เกิน 400 มิลลิลิตร
2.มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คานึงถึงระยะเวลาที่รกค้าง
3.สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด โดยไม่สามารถเข้าไป Clamp จุดที่ขาดได้
ข้อห้าม
ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
ผลกระทบ
1.Infection
2.มดลูกปลิ้น
3.PPH
4.มีการฉีกขาดของ fornix
5.มดลูกทะลุจากการเซาะ
การพยาบาล
1.ประเมิน V/S , contraction , bladder , การฉีกขาดของช่องคลอดและปริมาณเลือด เพื่อเฝ้าระวังการเกิดภาวะ PPH
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ PPH เช่น ใจสั่น ปลายมือปลายเท้าเย็น เป็นต้น
3.แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
4.แนะนำการเปลี่ยนผ้าอนามัยและการทาความสะอาดภายหลังการขับถ่ายทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
5.ดูแลได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่ออย่างน้อย 2 ชม.หลังคลอด
Cesarean section
หมายถึง การผ่าตัดเพื่อคลอดทารกออกทางรอยผ่าที่หน้าท้อง (laparotomy) และรอยผ่าที่ผนังมดลูก (hystrotomy)
WHO กาหนดว่า อัตราการผ่าตัดคลอดไม่ควรเกิน ร้อยละ 10 – 15 (Who, 2015)
ข้อบ่งชี้
การคลอดติดขัด (mechanical dystocia)
การคลอดไม่ก้าวหน้า
ทารกมีภาวะ fetal destress
มาดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ท่าศีรษะทั้งคู่
มีประวัติคลอดยาก
ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธ์ ระยะใกล้คลอด
ข้อห้าม
ทารกตายในครรภ์ เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง (skin incision)
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังมดลูก (uterine incision)
การพยาบาล
สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
หลังทารกคลอดครบดูให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกจามแผนการรักษา
ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึมบริเวณที่ก็อซปิดแผลไว้หรือเปล่า แนะนำไม่ให้แผลโดนน้ำ
ประเมินอาการปวดแผล
กระตุ้นการ early ambulate