Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิถีการสร้างการเรียนรู้ เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21, 03-23 ณัฐชา สอนบุญทอง -…
วิถีการสร้างการเรียนรู้
เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
ศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
เด็กยุคนี้ยังไม่มีความคิดที่ก้าวหน้า >> การศึกษาต้องเข้าไปจัดการ
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Teach Less, Learn More
จุดสำคัญ
เปลี่ยนเป้าหมาย
จาก "ความรู้" >> "ทักษะ"
จาก "ครู" เป็นหลัก >> "นักเรียน" เป็นหลัก
ครูควรสอนเฉพาะส่วนที่สำคัญ (Essential)
เด็กจะมีความสามารถนำความรู้ไปใช้ได้เอง
เรียนโดย Project Based Learning (PBL)
เป็นการเรียนรู้ที่ฝึกให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการทำงานจริง
มีครูเป็นโค้ช
ฝึกตัวเองให้เป็นโค้ช
ทักษะสำคัญ
สร้างแรงบันดาลใจ
ครู 1 คน ไม่สามารถรู้ได้
ใช้ Professional
Learning Community (PLC)
ร่วมกันทำดีกว่าทำคนเดียว
เครื่องมือช่วยออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะกับบริบทของแต่ละพื้นที่
เข้ามาทำงานแทนที่การทำงานแบบสั่งการ
ทุกฝ่ายมารวมกันเป็น "ชุมชนการเรียนรู้"
เพิ่มทักษะการสื่อสาร
มีการแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อต่อยอดเป็นองค์ความรู้ของตนเอง
ฝึกการทำงานเป็นทีม
การบ้านสมัยใหม่
เป็นการบ้านทั้งปี
การแสดงละคร (เป็นทีม)
ทำให้เด็กมีความมุ่งมั่นกับสิ่งที่ทำในระยะยาว
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
ศตวรรษที่ 21 เป็นยุค IT
ความรู้เพิ่มขึ้นอย่างอย่างเร็วในทุก ๆ วัน
เป็นไปไม่ได้ที่จะท่องจำทุกวัน
เด็กควรมีทักษะ Learning Skills และ Life Skills
โครงสร้างพื้นฐาน
มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที่ 21
หลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับศวรรษที่ 21
การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้
การเรียนการสอนแบบ PBL
เป็นการเรียนรู้แบบไม่มีกรอบ
สนใจกระบวนการหาคำตอบ
เป็นการวัดเพื่อประเมินความก้าวหน้า
เด็กควรรู้
แนวคิดสำคัญในศตวรรษที่ 21
ความรู้เกี่ยวกับโลก
ความรู้ด้านสุขภาพ
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี
ความรู้ด้านสิ่งเเวดล้อม
ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
ทักษะที่สำคัญ
ทักษะชีวิตและการทำงาน
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
การเรียนปัจจุบันส่งผล
เด็กวัยรุ่นจะเสียคนในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพราะไม่มีเเรงบันดาลใจ
ทั้งชาติจะโง่ เพราะไม่ได้ทักษะ
03-23 ณัฐชา สอนบุญทอง