Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพูดเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - Coggle Diagram
การพูดเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
การสื่อสารอย่างผู้นำ
ประเภทของการพูด
การพูดทั่วไป
การพูดในที่ชุมชน
ฝึกพูดทำไม
เพื่อการสื่อสารกันด้วยคำพูดที่ถูกต้อง
เพื่อการเป็นผู้นำที่ดี
เพื่อเป็นการวางรากฐานประชาธิปไตย
เพื่อเป็นการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ
กลยุทธ์ในการทำให้เขาฟังเรา
ทำให้ผู้ฟังมองเห็นภาพ
ทำให้ผู้ฟังเชื่อมั่นในตัวเรา
รู้จักตัวเองในฐานะนักสื่อสาร
สร้างความรู้สึกที่ดีแก่ผู้ฟัง
รู้จักผู้ฟัง
ควบคุมเวลาและสถานที่
วาดภาพเป้าหมายในการสื่อสาร
ประเมินการตอบสนองผลลัพธ์
การสื่อสารด้วยวาจา
ระดับที่ 1 พนักงาน
รับฟังข้อมูลและความคิดเห็นของผู้อื่น
ระดับที่ 2 พนง.อาวุโส
กระตือรือร้นที่จะรับฟังและตอบข้อซักถาม
ระดับที่ 3 หัวหน้างาน
ใช้น้ำเสียงและคำพูดได้อย่างเหมาะสม
ระดับที่ 4 ผู้จัดการ
โน้มน้าวจูงใจกระตุ้นให้ผู้ฟังปฏิบัติตาม
ระดับที่ 5 ผู้อำนวยการ
แจงข้อมูลรายละเอียดที่สำคัญในระดับองค์กรได้
อุปสรรคของการพูด
ผู้ฟังเข้าใจผิด ตีความผิด
ผู้พูด พูดไม่เข้าใจ
วิธีการพูดที่ผิด
บรรยากาศไม่เอื้ออำนวย
สื่อสารผิดกาลเทศะ
เครื่องมือไม่ดี
ความวิตกกังวลของผู้พูด
การพูดที่ควรหลีกเลี่ยง
พูดประจบสอพลอ
พูดดูถูกเหยียดหยาม
พูดเกินจริง
พูดนินทา
พูดโผงผาง
คิดไปเอง
พูดเหน็บแนม
โยนความผิด
หัวใจของการเป็นนักพูด
มีความตั้งใจจริง
ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
ขยันหมั่นฝึกซ้อม
เป็นนักฟังที่ดี
มีใจรักที่จะเป็นนักพูด
บุคลิกภาพของนักพูด
ภายนอก
รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย การปรากฏตัว การใช้ท่าทาง การสบตา การใช้เสียง ภาษาหรือการใช้คำพูด
ภายใน
ความเชื่อมั่นในตนเอง ความกระตือรือร้น มีความรอบรู้ มีความคิดริเริ่ม มีความจริงใจ มีความจำดี มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณ์ขัน
ลักษณะการพูด
แบบบอกเล่าหรือบรรยาย
แบบบันเทิง
แบบจูงใจหรือชักชวน
วิธีการพูด
วิธีการอ่านร่าง
วิธีการพูดจากความเข้าใจ
วิธีการท่องคำ
การพูดแบบเฉียบพลัน
ขั้นตอนการดำเนินการพูด
เนื้อเรื่อง - กลมกลืน
ลำดับเหตุการณืและเวลา เน้นจุดสำคัญ เร้าความรู้สึกผู้ฟัง อย่าพูดนอกประเด็น
สรุป - จับใจ
จบแบบสรุปความ ฝากให้คิด ชักชวนเรียกร้อง จบด้วยคำคม
ขึ้นต้น - เร้าใจ
รวบรัด เร้าอารมณ์ ตรงประเด็น ชวนให้ติดตาม
พัฒนาการพูดให้ดี
เป็นการเองใช้ท่าทาง
สบตาบ้างอย่างทั่วถึง
ปรากฏโฉมกระฉับกระเฉง
ภาษาซึ่งเข้าใจง่าย
แต่งกายให้เหมาะสม
น้ำเสียงเป็นธรรมชาติ
ซักซ้อมเพื่อความเชื่อมั่น
อย่าขาดรูปธรรม
สำคัญที่สุดคือความพร้อม
ต้องรู้ดีในเรื่องที่พูด
การพูดในโอกาสต่างๆ
มอบของขวัญ
- ไม่พูดยาว จริงใจ ยกย่อง อย่าพูดถึงราคาของ พูดถึงคุณค่า
ตอบรับรางวัล
- อย่าพูดยาว พูดให้สอดคล้อง แสดงความดีใจพอประมาณ กล่าวขอบคุณ
รับตำแน่งใหม่
- ยินดีเข้าร่วมงาน ยกย่องที่ทำงานใหม่ พูดุถึงหลักการและอุดมคติการทำงาน
อวยพร
- อย่าพูดเกินเวลา อย่าตั้งหน้าตั้งตาสอน อย่าพูดเป็นลางร้าย อย่าพาดพิง สุภาษิตผิดกาลเทศะ
เข้ารับตำแหน่งใหม่
- แสดงความยินดี พูดถึงผลงาน ความสามารถ แสดงความเอื้ออาทร
ขอบคุณวิทยากร
- สั้นๆ สุภาพ ยินดีจริงใจ กล่าวถึงส่วนดี ปรบมือ มอบของรางวัล
กล่าวแนะนำวิทยากร
- พูดสั้น สร้างบรรยากาศ ผลงาน ประสบการณ์ ตำหน่ง ชื่อ
อวยพรงานแต่ง
- ตื่นเต้น เกี่ยวดอง สรรเสริญคุณความดี คำคมน่าจำ แสดงความยินดี
อย่าพูดเหมือนกันทุกงาน มีคำขึ้นต้นและลงท้าย อย่าพูดนานเกินไป ใช้อารมณ์ขันบ้าง (ยกเว้นงานศพ)
ความประหม่า
เกิดจาก กลัวผู้ฟัง กลัวสถานที่ กลัวตัวเอง
วิธีลดความประหม่า
เป็นนักศึกษาค้นคว้า
ต้องมีอารมณ์อยากพูด
เตรียมตัวให้พร้อม
ต้องหมั่นฝึกฝน
ศิลปะการกล่าวชม
ชมเรื่องที่เขากำลังครุ่นคิดอยู่ในใจ
รู้จักถ่ายทอดคำชมที่ผู้อื่นเขาชมไว้
ชมความเก่งที่ไม่มีใครรู้มาก่อน
รู้จักชมถ้อยคำที่เขาเคยพูดในอดีต
ชมคน สัตว์ สิ่งของ ที่เขารัก
ชมแบบเหมาหรือชมแบบรวมๆ