Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อทางเดินหายใจ
ยารักษาโรคหอบหืด(antiasthmatic drugs)
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
เป้าหมาย
ลดอาการหดเกร็งของหลอดลม
โรคหืด (asthma)
ภูมิแพ้(allergy)
หลอดลมอักเสบ (bronchitis)
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary disease, COPD)
Sympathomimetics agents กระตุ้น β2 receptors
Adrenaline (epinephrine)
รักษา
รักษาภาวะหดเกร็งของหลอดลม การแพ้ชนิด
anaphylaxis
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตสูง ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ ใจสั่น ปวดศีรษะ
การออกฤทธิ์
กระตุ้น α-receptors และ β-receptors
Bambuterol
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
ข้อควรระวัง
ผู้ป่วยโรคหืดที่มีโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง โรคเบาหวาน
Salbutamol
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors ออกฤทธิ์สั้น
ผลข้างเคียง
มือสั่น ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ตะคริวที่กล้ามเนื้อ
อาจเกิดภาวะโปตัสเซียมยมในเลือดตํ่าแบบรุนแรง มีอาการไม่อยู่นิ่งในเด็กการระคายในปากและคอ
Terbutaline
ผลข้างเคียง
ชีพจรเต้นเร็ว หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors ทําให้กล้ามเนื้อเรียบ ของหลอดลม และกล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
Fenoterol
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors
ผลข้างเคียง
กระสับกระส่าย มึนงงเหนื่อยล้า หัวใจเต้นเร็ว แสบอก กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
ยาอาจทําให้ปากแห้ง ควรบ้วนปากทุกครั้งหลังใช้ยา
Procaterol
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors ที่มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
อาจเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มือสั่น ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อเกร็ง
Salmeterol
การออกฤทธิ์
กระตุ้น β2-receptors มีฤทธิ์ยาว
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ ไอ มือสั่น เวียนศีรษะ คอแห้ง ระคายคอ อาจพบใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว แสบยอดอก ท้องเสีย
Methylxanthines
ยา: theophylline, aminophylline
ฤทธิ์ต่อหลอดลม ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจและหลอด เลือด ไต ทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ phosphodiesterase → เพิ่ม cAMP →
หลอดลมขยายตัว
ผลข้างเคียง
นอนไม่หลับ สั่น ชัก กระวนกระวาย
หัวใจเต้นเร็ว บีบตัวแรง
หายใจเร็วผิดปกติ หน้าแดง ความดันโลหิตตํ่า ปวดท้อง
ปัสสาวะบ่อย
Anticholinergic drugs
ยา: ipratropium
การอกฤทธิ์
ยับยั้ง acetylcholine จับกับ muscarinic receptors ที่หลอดลม
ลดการเกร็งของหลอดลม
ผลข้างเคียง
ระคายเคืองคอ หลอดลมอักเสบ หัวใจเต้นผิดปกติ ไอ ปากแห้ง
ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
ปัสสาวะคั่ง
เพิ่มความดันภายในลูกตา
รูปแบบยาพ่นจมูก: จมูกแห้ง เลือดกําเดาไหล
ยาต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory drugs)
1.ยากลุ่มเสตียรอยด์ (glucocorticoids
Beclometasone, Flunisolide, Triamcinolone
ผลข้างเคียง
ผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ เจ็บคอ เลือดออกในจมุก แสบจมูก ปากแห้ง เสียงแหบ ติดเชื้อรา
ข้อควรระวัง
สังเกตอาการติดเชื้อ เช่น มีไข ้ มีฝ้าขาวในปาก
หมั่นบ้วนปากบ่อยๆ หลังให ้ยา อย่ากลืนนํ้าหลังจากกลั้วคอ
การออกฤทธิ์
ลดการอักเสบ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งกระบวนการอักเสบในร่างกาย
ลดความไวของหลอดลมต่อตัวกระตุ้นที่ทําให้เกิดอาการ
อาการไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยในรูปแบบยาพ่น
การติดเชื้อราในช่องปาก
เสียงแหบ ระคายคอ ปากแห้ง คอแห้ง
ป้องกันโดย หลังพ่นยาบ้วนปาก (rinsing) และการกลั้วคอ (gargling) ร่วมกัน
ยากลุ่มยับยั้ง leukotrienes (leukotriene pathway
inhibitors)
montelukast
ยับยั้งไม่ให้ leukotrienes จับกับตัวรับ
ยับยั้งการทำงานของ leukotrienes ซึ่งเป็นสานหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ
ยากลุ่มป้องกันการแตกของ mast cells (mast cell
stabilizers)
ยา: cromolyn sodium; cromoglicic acid; disodium
cromoglycate
กลไกการออกฤทธิ์
ป้องกันการแตกของ mast cells →ยับยั้งการหลั่ง histamines, leukotriene และสารอื่นที่มีฤทธิ์ ทําให้หลอดลมหดตัว
ผลข้างเคียง
ไอ จาม ระคายคอ เสียงแหบ หลอดลมหดเกร็ง คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ
ยาขับเสมหะ ยาละลายเสมหะ และยาระงับการไอ(expectorants, mucolytics & antitussive drugs)
ยาระงับอาการไอ (antitussives)
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทสวนกลาง
ยาระงับอาการไอที่ทําให้เกิดการเสพติด
Codeine
กดศูนย์การไอในสมอง
ประสทธิภาพในการระงับอาการไอสูง
ยาในขนาดตํ่า สามารถใช้บรรเทาอาการปวดแบบปานกลาง
อาการไม่พึงประสงค์
กดศูนย์การหายใจ
ง่วงนอน มึนงง ท้องผูก หัวใจเต้นช้า
ความดันโลหิตต่ำเทื่อเปลี่ยนท่าทาง
เมื่อใชเวลานานเกิดการดื้อยา ติดยา คลื้นไส ้ อาเจียน
กดศูนย์การหายใจ → สงเกตและฟังเสียงหายใจ
ผู้ป่วยโรคหอบหืด โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง
ยาระงับอาการไอที่ไม่ทําให้เกิดการเสพติด
Dextromethorphan
กดศูนย์การไอในสมอง
ประสิทธิภาพระงับอาการไอ< codeine
ขนาดยาปกติไม่ทําให้ เกิดการเสพติด
ไม่มีฤทธิ์แก้ปวด
อาการไม่พึงประสงค์
หากได้รับยาขนาดสูงๆ จะมีอาการซึม มึนงง ง่วงนอน กดการหายใจ คลื่นไส้ อาเจียน
Diphenhydramine
จัดอยู่ในกลุ่มยาต้านฮีสตามีน H1--receptor
ข้อบ่งใช้
ระงับอาการไอ ที่เกิดร่วมกับอาการคัดจมูกและจาม ซึ่งมีสาเหตุจากหวัดและแพ้
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วง ซึม ปากแห้ง คอแห้ง มึนงง
ข้อควรระวัง
อาการคอแห้ง ทางเดินหายใจแห้ง→ แนะนําให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ
อาการง่วง ซึม → ระวังอุบัติเหตุ
ยาขับเสมหะ (expectorants)
Ammonium chloride
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคตับ
ยาขนาดสูง (6-8 กรัมต่อวัน) จะทําให้ร่างกายมีภาวะ
ความเป็นกรด
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองทางเดินอาหาร
คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีษะ ซึมเศร้า ง่วงหลับ
ชีพจรเต้นช้า ท้องผูก
Guaifenesin (glyceryl guaiacolate)
อาการไม่พึงประสงค์
พบน้อย คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ ผื่นแพ้ ท้องเสีย ไม่สบายท้อง
ยาละลายเสมหะ (mucolytics)
Acetylcysteine
ทําลายพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะ
อาการไม่พึงประสงค์
กล้ามเนื้อหลอดลมหดเกร็ง
ไม่สบายท้อง เยื่อบุช่องปากอักเสบ น้ำมูกไหล ปวดหัว หนาวสั่น มีไข้
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหอบหืด
Carbocysteine
ทําลายพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะ
อาการไม่พึงประสงค์
ความผิดปกติในทางเดินอาหารแบบไม่รุนแรง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารที่ยังมีอาการของโรค
Bromhexine
เหนี่ยวนําเอนไซม์ภายในร่างกายให้ไปทําลาย
โครงสร้างของเสมหะ
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ โรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ้ยา
ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคกระเพาะอาหาร เนื่องจากยาอาจไปทําลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร
Ambroxal
เหนี่ยวนําเอนไซม์ภายในร่างกายให้ไปทําลายโครงสร้างของเสมหะ
อาการไม่พึงประสงค์
ขนาดสูงๆ อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว
ขนาดปกติ พบอาการน้อยมาก
ใชติดต่อกันนานๆ อาจพบอาการแน่นท้อง ท้องเสีย จุกเสียด
ยาลดอาการคัดจมูก (nasal decongestants)
Sympathomimetic drugs
ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
ออกฤทธิ์ช้ากว่ารูปแบบยาใช้เฉพาะที่
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ออกฤทธิ์เร็วกว่ารูปแบบยาออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
ห้ามใชติดต่อกันนานเกิน 7 วัน จะทำให้เกิดอาการ คัดจมูกมากขึ้น(rebound congestion)
อาการไม่พึงประสงค์
rebound congestion
เจ็บ คัน แสบร้อน เยื่อบุภายในจมูกแห้งเกินไป
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย ปลายมือ-เท้าเย็น
หัวใจเต้นเร็ว นอนไม่หลับ มึนงง
Phenylephephrine
นิยมใช้ ผลข้างเคียงน้อยกว่ายาอื่นในกลุ่มเดียวกัน
Pseudoephedrine
จะมีใช้เฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น
มีการนําไปใช้ในทางที่ผิด นําไปเป็นสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้า
Naphazoline
ความแรงมากกว่า phenylephrine
เกิดการคัดจมูกเพิ่มมากขึ้นง่ายกว่าชนิดอื่น
ระวังการใชยานี้ในเด็ก ไม่ควรใช้ในเด็กอายุตํ่ากว่า 12 ปี
กลุ่มเสตียรอยด์
ลดการอักเสบภายในโพรงจมูก
มีทั้งรูปแบบยากินออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย และยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
Fluticasone
อาการไม่พึงประสงค์
เลือดกําเดาไหล แผลเยื่อบุจมูก ปวดหัว
ระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
Beclomethasone
อาการไม่พึงประสงค์
จมูก ลําคอแห้ง ระคายเคืองง่าย
จาม เลือดกําเดาไหล ปวดหัว แผลเยื่อบุจมูก
รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
Budesonide
อาการไม่พึงประสงค์
เลือดกําเดาไหล จมูกแห้ง จาม
รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
Triamcinolone
อาการไม่พึงประสงค์
เลือดกําเดาไหล เยื่อบุจมูกแห้ง
จาม ปวดหัว น้ำมูกไหล ระคายเคืองภายในจมูก
รูปแบบยาใช้ภายนอกเฉพาะที่
ยาแก้แพ้และยาต้านฮีสตามีน (anti-allergic drugs &
antihistamines)
antihistamine H1 receptors
กลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ยาจับกับ H1-receptors ทั้งภายในระบบประสาทสวนกลางและภายนอกระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อบ่งใช้
เพิ่มความอยากอาหาร: cyproheptadine
ลดน้ำมูก: chorpheniramine (CPM), brompheniramine
แก้ผื่น คัน ลมพิษ: hydroxyzine
คลายเครียด ช่วยในการนอนหลับ : hydroxyzine,
diphenhydramine
แก้คลื่นไส้อาเจียน เมารถ : dimenhydrinate
1.แก้ไอ: diphenhydramine
อาการไม่พึงประสงค์
ง่วงนอน ปากแห้ง คอแห้ง มึนงง
ในเด็กอาจให้ผลตรงข้าม คือ ตื่นตัว
ระวังการใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน กดระบบประสาท ส่วนกลาง และแอลกอฮอล์
2.กลุ่มที่ไม่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ถูกพัฒนาขึ้นมาจากยากลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน
ยามีความจําเพาะต่อการจับกับ H1-receptors ภายนอกระบบ
ประสาทส่วนกลางมากกว่าภายในระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อบ่งใช้
ลดน้ำมูก แก้แพ้ ลมพิษ
ออกฤทธิ์ช้ากว่ากลุ่มที่มีฤทธิ์ทําให้ง่วงนอน แต่ออกฤทธิ์นานกว่า
ไม่เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง มึนงง
ตัวอย่างยา
cetirizine, loratadine, fexofenadine,
desloratadine, levocetirizine