Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด (Powers)
แรงเบ่งผิดปกติ
สาเหตุ
ผู้คลอดเบ่งไม่ถูกต้อง หรือไม่กล้าเบ่ง
ผู้คลอดดิ้นไปมา ควบคุมตนเองไม่ได้
ได้ยาบรรเทาปวดมากเกิน /ได้ในเวลาไม่เหมาะสม
ได้รับยาชาทางไขสันหลังมากเกิน
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว เป็นอัมพาต
เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ
มีพยาธิสภาพ หรือโรคที่เบ่งไม่ได้
เช่น โรคหัวใจ , HT, Anemia, เกร็ดเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
เบ่งสั้นเกินไป เบ่งนานเกินไป เบ่งมีเสียง เบ่งหน้าแดง
ท่าในการเบ่งไม่เหมาะสม
มีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
ขณะเบ่งปากช่องคลอดไม่มีการบานหรือขยาย
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
แนวทางการดูแล
สอนเบ่งให้ถูกต้อง
เบ่งขณะมดลูกหดรัดตัว
ก่อนเบ่งหายใจเข้า-ออก ลึก ๆ ยาวๆ (cleansing breath)1-2 ครั้ง
สุดหายใจเข้าเต็มที่ คางชิดหน้าอก ลำตัวงอเป็นรูป C
ปิดปาก เบ่งลงช่องคลอด
เบ่งไม่ควรนานเกิน 6-8 วินาที
ถ้าผู้คลอดหมดแรง เหนื่อย หรือทารกขาด 0,
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
Hypertonic uterine dysfunction
หดรัดตัวรุนแรง
(แรงดันขณะหดรัดตัว
> 50 mmHg
)
หดรัดตัวแต่ละครั้งห่างกัน < 2 นาที ระยะพัก < 30 วินาที
หดรัดตัว
ไม่สม่ำเสมอ
มดลูกแต่ละส่วนจะหดรัดตัว
ไม่พร้อมกัน
ไม่สามารถทำให้ปากมดลูกเปิดหรือส่วนนำเคลื่อนต่ำ
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Incoordinated uterine contraction
มดลูกแต่ละส่วน
หดรัดตัวไม่ประสานกัน
ส่วนกลาง / ส่วนล่างหดรัดตัวแรงกว่ายอดมดลูก
หดรัดตัวถี่แต่ไม่สม่ำเสมอ
พบใน
CPD ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ครรภ์แรก
ผู้คลอดมีความกลัวและวิตกกังวลมาก
แนวทางการดูแลรักษา
ถ้ามีภาวะ CPD → C/S
ถ้าไม่มีภาวะ CPD
ให้ยาระงับปวด ให้พักได้
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ถ้าการหดรัดตัวกลับมาปกติ อาจคลอดทางช่องคลอดได้
ถ้ายังหดรัดตัวผิดปกติ และ ผู้คลอดพักไม่ได้ หรือ
ทารกอยู่ในภาวะคับข้น อาจต้อง C/S
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
(Tetanic contraction)
มดลูกหดรัดตัว
แข็งตึงตลอดเวลา
ระยะคลายตัวสั่น/ไม่คลายตัวเลย
สาเหตุ
จากการ
คลอดติดขัด
(obstructed labor)
Non- obstructed labor
ได้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกิน /เร็วเกิน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
(constriction ring)
กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลมหดรัดตัว
ไม่คลาย
เฉพาะที่
พบบ่อยบริเวณ
รอยต่อระหว่างมดลูก
ส่วนบนและส่วนล่าง
เกิดขึ้นในระยะรอคลอด ระยะคลอด ระยะรกคลอด
สาเหตุ
การได้รับ
ยากระตุ้น
การหดรัดตัวของมดลูก
มากเกินไป
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
บางชนิด เช่น internal version
หลังคลอดทารกแฝดคนแรก
น้ำคร่ำน้อย
Hypotonic uterine dysfunction
การหดรัดตัวของมดลูกเป็นจังหวะตามปกติ Symmetrical contraction แต่
แรงดันที่เกิดจากการหดรัดตัว**
ไม่เพียงพอ
ที่จะทำให้ปากมดลูกเปิดขยาย หรือ
ความถี่น้อย**
แรงดันขณะมดลูกหดรัดตัว < 25 mmHg
หดรัดตัว < 2 ครั้งใน 10 นาที
Phase of maximum slope
ระยะที่ 2 ของการคลอด
มักเกิดในระยะ
active phase
สาเหตุ
มดลูกยืดขยายมากกว่าปกติ
ส่วนนำทารกไม่กระชับกับปากมดลูก
มีความผิดปกติที่มดลูก
ครรภ์แฝด,แฝดน้ำ,ทารกตัวโต ,ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
CPD ทารกมีส่วนนำ/ท่าผิดปกติ ทารกตัวเล็ก