Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุล กรด-ด่าง, - Coggle Diagram
การพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีภาวะเสียสมดุล กรด-ด่าง
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสมดุล กรด-ดาง
-ACID หมายถึง โมเลกุล หรือ ไอออนที่สามารถปลอย H+ เข้าสู่สารละลายได้
-Acidosis หมายถึง ภาวะที่สารละลายไดรับ H+ จํานวนมากเกินปกติ หรือ สูญเสียไอออนด่างไป
-Base หมายถึง โมเลกุล หรือ ไอออนที่รวมตัวกับ H+แล้วถูกขับออก จากสารละลาย
-Alkalosis หมายถึง ภาวะที่สารละลายมีการขับ H+ออก หรือ ได้รับ ไอออนของด่างเข้าไปมากเกินปกติ
-pH หมายถึง สัญญาลักษณที่ใช้บ่งบอกถึงความเข้มข้นของ H+ ใน สารละลาย pH ปกติ = 7.35 - 7.45
pH ต่ำ = 6.7 - < 7.35 เรียก AcidosispH
pH สูง= > 7.45 - 7.9 เรียก Alklosis
-Anion หมายถึง ธาตุที่มีประจุเป็นลบ Measured anion หมายถึง ธาตุที่มีประจุ เป็นลบซึ่งตรวจพบได้ในร่างกาย เช่น HCO3
-Cation หมายถึง ธาตุที่มีประจุเป็นบวก
-Measured cation หมายถึง ธาตุที่มีประจุ เป็นบวกซึ่งตรวจพบได้ ในร่างกาย เช่น Na+ , K+ , Ca+
-Anion gap หมายถึง ค่าความแตกต่างระหว่างประจุบวกกับประจุลบ ซึ่งไม่สามารถวัดได้ในรางกาย ไดแก่ โปรตีน , ฟอตเฟต , ซัลเฟต , กรดออแกนิค เป็นต้น
Metabolic acidosis
สาเหตุ
มีกรดเพิ่มในน้ํานอกเซลล์ เช่น กรดจากเบาหวานเนื่องจากขาด อินซูลิน
สูญเสียด่างออกจากน้ํานอกเซลล์ เช่น ท้องเสียเรื้อรัง มีทาง ระบายน้ําย่อยจากตับอ่อนซึ่งมีไบคาร์บอเนตสูงกว่าน้ําย่อยอ่ืน
อาการแสดง
ระบบหายใจ หายใจเร็ว ลึก หายใจลําบากขณะออกแรง อาจมีกลิ่นผลไม้ (Fruity smell) จากการเผาผลาญไขมัน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ชีพจรอาจแรง หัวใจ อาจเต้นผิดจังหวะจาก โปแตสเซียมในเลือดสูง
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ กล้ามเน้ืออ่อนแรง รับความรู้สึกลดลง ซึม สับสน มึนงง และหมดสติ
ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องร่วงจากโปแตสเซียมในเลือดสูง
การวินิจฉัย
ซักประวัติตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-pH < 7.35
-PaCO2 ปกติ (ยังไม่ชดเชย) หรือตํ่ากว่าปกติ (หากชดเชยแล้ว)
HCO-3 < 22 mEq/L
K+ ในพลาสมาสูงขึ้น Ca2+ ในพลาสมาสูงขึ้น
-EKG เปลี่ยนแปลงตรมค่าโปแตสเซียม
การรักษา
แก้ไขภาวะกรดโดยการให้ไบคาร์บอเนตทดแทนอาจให้ในรูปแบบการรับประทานหรือทาง หลอดเลือดดําแล้วแต่ความจําเป็น ของผู้ป่วย โดยจะค่อยๆ เพิ่มความเข้มข้นของไบ คาร์บอเนตท่ีละน้อย
แก้ไขสาเหตุ เช่น ให้อินซูลินในรายที่เป็นเบาหวาน DKA ควบคุมเบาหวาน
ล้างไตในผู้ป่วยไตวาย หรือไดรับพิษจากยา Sylicylate
ดูแลโรคตับที่เป็นสาเหตุ
หยุดการใหคลอไรด์
ถามีไข้หรือติดเชื้อในกระแสเลือด ดูแลใหยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
3.แก้ไขสมดุลเกลอืแร่
การพยาบาล
1.ดูแลเรื่องสมดุลกรดด่างและสมดุลเกลอืแร่ เช่น ให้สารน้ําและเกลือแร่
2.ดูแลการหายใจของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3.ดูแลป้องกันการเพิ่มกรดจากเหตุตางๆ
4.ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่ค่อยรู้สึกตัว
ภาวะกรดจากการหายใจ (respiratory acidosis)
อาการและอาการแสดง
ระบบหายใจ หายใจช้าลงหรือหยุดหายใจ หายใจลําบาก ปีกจมูกบาน ฟัง ปอดมีเสียงกรอบแกรบ เสียงวี้ด มีภาวะพร่องออกซิเจน (ซีด เขียว เหงื่อออก)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็วหรืออาจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ
ระบบประสาทและกลา้มเนื้อมึน สับสน กระสับกระส่าย อ่อนแรง ส่ัน รีเฟล็กซ์ลดลง และหมดสติ
ระบบทางเดินอาหาร อาจคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องร่วงจากโปแตสเซียมในเบือดสูง
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติละตรวจร่างกาย
2.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
pH < 7.35 หากมีค่าลดตํ่าลงมากจะเป็นอันตรายอย่างรุนแรงอาจถึงแก่ ชีวิตได้
PaCO2> 45 mm.Hg
HCO-3 ปกติหรือสูงเล็กน้อย(ระยะเฉียบพลัน) หรือสูงกว่าปกติ(ในราย เรื้อรังหรือมีการชดเชยแล้ว)
K+ ในพลาสมาอาจปกติหรือสูงข้ึน -Ca2+ ในพลาสมาสูงข้ึน
การรักษา
ปรับสมดุลกรดด่าง เช่น ให้โซเดียมไบคาร์บอเนตรับประทานหรือทาง หลอดเลือดดํา
แก้ไขสาเหตุ เช่น ให้ยาขยายหลอดลมในรายหลอดลมหดเกร็ง ยา ปฏิชีวนะกรณีปอดอักเสบ
3.แก้ไขภาวะสมดลุของอิเล็กโตลัยต์เช่นKในเลือดสูงอาจจะต้องให้ อินซูลิน กลูโคส หรือ Kayexalate หรือทํา dialysis
การพยาบาล
1.ดูแลการหายใจของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
2.ดูแลป้องกันการเพิ่มกรดจากเหตุต่างๆ
3.ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่ค่อยรู้สึกตัว