Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
Induction of labor
การทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
โดยเทคนิคต่างๆ ในขณะที่ยัง
ไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
Defination
Induction of labor
ทำให้มดลูกเกิดการหดรัดตัวและหรือทำให้ปากมดลูกนุ่ม
ขณะนั้นยังไ
ม่มีการเจ็บครรภ์คลอดตามธรรมชาติ
เกิดขึ้น
Augmentation of labor
การส่งเสริมการเจ็บครรภ์คลอดที่มีอยู่ก่อนแล้ว
ให้มีการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีขึ้น
Uterine tachysystole
การ
หดรัดตัวของมดลูกมากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา 10 นาที
ในช่วงระยะเวลา
30 นาที
Uterine hypertonus
การที่มดลูกมีการหดรัดตัวนานกว่า 2 นาที ต่อ 1 ครั้ง
Uterine hyperstimulation
การเกิด
tachysytole
หรือ
hypertonus
ร่วมกับมี
nonreassuring fetal heart rate
ข้อบ่งชี้
Postterm pregnancy
Premature rupture of membrane : PROM
ข้อห้าม / ภาวะแทรกซ้อน
Vasa previa
Placenta previa
Transverse fetal lie
Umbilical cord prolapse
วิธีการชักนำการคลอด
การใช้ prostaglandin
การใช้ Oxytocin
Amnitomy
Membrane stripping/sweeping
Breast stimulation
Breech assisting
การคลอดทารกท่าก้น
(Breech delivery) ต่างจากการคลอดท่าศีรษะ เนื่องจากต้องใช้ความเชียวชาญและความระมัดระวังสูง พบได้ร้อยละ 3 – 4 ของการคลอด
กลไกการคลอดท่าก้น
กลไกการคลอดก้น
Engagement
ส่วนที่กว้างที่สุดของก้น
bitrochanteric diameter
เคลื่อนผ่าน pelvic inlet ลงมาในแนวเฉียงหรือแนวขวาง
Internal rotation
การหมุน
ภายในช่องเชิงกรานจน
bitrochanteric diameter
เข้าสู่แนวหน้า – หลัง ของ Pelvic outlet
หมุนเสร็จสะโพกหน้า
จะมายันที่ใต้กระดูกหัวหน่าว
Lateral flexion
ทารกมีการงอของลำตัว สะโพกหลังถูกดัน
ให้คลอดออกมาตามด้วยสะโพกหน้า
External rotation
ขณะสะโพกทารกคลอด
ไหล่จะมีการ engagement ลงมา
ในแนวขวางของ pelvic inlet
กลไกการคลอดไหล่
Engagement
ไหล่ทารกเคลื่อนสู่ช่องเชิงกราน
โดย bisacromial diameter
เคลื่อนเข้าสู่ pelvic Inlet ในแนวเฉียงหรือแนวขวาง
เช่นเดียวกับก้น
Internal rotation
ขณะไหล่เคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ จาก pelvic inlet ผ่าน mid pelvic
ไหล่จะหมุนเอา bisacromial diameter เข้าสู่แนวหน้า - หลัง ของ pelvic outlet
เมื่อหมุนเสร็จ ไหล่หน้าจะมาอยู่ใต้กระดูกหัวหน่าว
Delivery of the shoulders
ขณะไหล่หน้ายันอยู่ใต้กระดูกหัวหน่าว
ไหล่หลังจะคลอดออกมา พร้อมกับมี lateral flexion ของลำตัวทารก
จากนั้นไหล่หน้าจะคลอดออกมา
External rotation
เมื่อไหล่คลอด จะมีการหมุนภายนอกจน bisacromial
diameter อยู่ในแนวขวางกับช่องทางคลอด
กลไกการคลอดศีรษะ
Engagement
ศีรษะทารกเคลื่อนเข้าสู่ช่องเชิงกราน
โดย sagital suture
จะ
เข้าสู่ pelvic inlet ในแนวเฉียงหรือแนวขวาง
Internal rotation
ศีรษะทารกจะเข้าสู่ mid pelvic
ส่วน occiput ของทารกจะหมุนมาอยู่ในแนว หน้า – หลัง
ของ pelvic outlet และ occiput มายันใต้กระดูกหัวหน่าว
Delivery of head
มีการก้มของศีรษะทารก
ทำให้ศีรษะคลอดผ่านออกมาทางช่องคลอด
Descent คือ การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ เกิดควบคู่ตลอดกับทุกกลไก
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อผู้คลอด
Laceration of perineal
Uterine rupture
Dystocia
PPH
Infection
อันตรายจากการได้รับยาดมสลบ
ต่อทารก
Fetal distress จากการคลอดติดขัด ล่าช้า
ข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
การบาดเจ็บต่อสมอง
เส้นประสาทที่แขนได้รับบาดเจ็บ
อัตราการตายของทารกเพิ่มขึ้นกว่าการ
คลอดปกติ 3 – 5 เท่า
Placenta removal
การล้วงรก
(manual removal of placenta) เป็นหัตถการ
สำคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
สาเหตุ
ภาวะ cervical clamp
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะรกลอกตัวช้า ลอกตัวไม่สมบูรณ์ หรือไม่ลอกตัว
รกฝังตัวลึกผิดปกติ (placenta adherens)
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ
ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที
และ
เลือดออกไม่เกิน 400 มิลลิลิตร
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร
ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คำนึงถึงระยะเวลาที่รกค้าง
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด
โดย
ไม่สามารถเข้าไป Clamp จุดที่ขาดได้
ห้าม
ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
ผลกระทบ
มดลูกปลิ้น
มีการฉีกขาดของ fornix
มดลูกทะลุจากการเซาะ
PPH , Infecttion