Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Peter Senge, การนิเทศการศึกษา, TOM
PETERS
&ROBERT
WATERMAN - Coggle…
Peter Senge
วินัย 5 ประการ
ความรอบรู้แห่งตน
-
-
ความรอบรู้เป็นผลร่วมของทักษะและความสามารถ เป็นสภาพที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงเห็นว่าอะไรมีความสำคัญต่อเรา ต่อองค์กร
-
แบบแผนความคิดอ่าน
ความคิดความเชื่อแบบแผนความคิดอ่านของแต่ละคนมีข้อบกพร่อง ดังนั้นต้องอาศัยวินัยที่ 5 คือการคิดอย่างเป็นระบบ เข้าไปร่วมทำงานด้วยซึ่งจะมีพลังเกิดผลดีสูงสุด ผู้บริหารพึงผสานแบบแผนความคิดอ่านของตนเข้ากับการฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นกลยุทธ์อย่างเป็นระบบที่เน้นภาพใหญ่ เน้นความเชื่อมโยงขององค์ประกอบย่อยให้ได้
วิสัยทัศน์ร่วม
อะไร
- ภาพในอนาคตที่ต้องการให้เกิดคืออะไร
-
- ทำไปทำไม ด้วยเป้าหมายหรือพันธกิจใด
-
อย่างไร
- เราจะปฏิบัติตนเช่นไรให้วิสัยทัศน์และพันธกิจนั้นเป็นจริงด้วยความซื่อสัตย์ จริงใจ เสียสละ อดทน
การเรียนรู้ของทีม
- สมาชิกทีมต้องมีความสามารถในการคิด ตีปัญหา หรือประเด็นพิจารณาให้แตก หลายหัวร่วมกันคิดย่อมดีกว่าการให้บุคคลคนเดียวคิด
- ภายในทีมต้องมีการทำงานที่สอดประสานกันเป็นอย่างดี คิดในสิ่งที่ใหม่และแตกต่าง มีความไว้วางใจต่อกัน
- บทบาทของสมาชิกทีมหนึ่งที่มีต่อทีมอื่นๆ ขณะที่ทีมหนึ่งสมาชิกเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การประพฤติปฏิบัติของทีมนั้นยังส่งผลต่อทีมอื่น ๆ ด้วย ซึ่งจะช่วยการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ให้มีพลังมากขึ้น
การคิดอย่างเป็นระบบ
- คิดเป็นกลยุทธ์ ชัดเจนในเป้าหมาย มีแนวทางที่หลากหลาย แน่วแน่ในเป้าหมาย มีวิสัยทัศน์
- คิดทันการ ไม่ช้าเกินการณ์ มองให้เห็นความจริง บางทีชิงปฏิบัติก่อนปัญหาจะเกิด
- เล็งเห็นโอกาส ในทุกปัญหามีโอกาส ไม่ย่อท้อ สร้างประโยชน์ มองให้ได้ประโยชน์
Senge เชื่อว่า หัวใจของการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้อยู่ที่การเสริมสร้างวินัย 5 ประการ
( The five Disciplines ) ให้เกิดผลจริงจังในรูปของการนำไปปฏิบัติ แก่บุคคล ทีม และองค์กรอย่างต่อเนื่องและทุกระดับ โดย Senge ได้ให้คำนิยามของ ”องค์กรแห่งการเรียนรู้” ว่า “เป็นองค์กรที่ผู้คนต่างขยายขีดความสามารถเพื่อสร้างผลงานที่ต้องการสร้างอนาคต”
การนิเทศการศึกษา
-
การนิเทศการสอน (Supervision of Teaching) หมายถึง กระบวนการที่มุ่งให้คำแนะนำ และความ ช่วยเหลือแก่ครูผู้สอน ในการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดผลดีต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการ ในด้านต่างๆ ของผู้เรียน
การนิเทศการศึกษา ไม่ใช่เป็นหน้าที่ของศึกษานิเทศก์เท่านั้น แต่เป็นหน้าที่ที่สำคัญอีกด้านของผู้บริหารด้วย ซึ่งการนิเทศจะช่วยให้ครูได้รู้จักปรับปรุงงานด้านการเรียนการสอนให้ได้ผลดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การนิเทศการศึกษามิใช่มุ่งเน้นการปรับปรุงตัวครูเท่านั้น แต่หมายรวมถึงการพิจารณาความเหมาะสมของหลักสูตรที่ใช้ วัสดุอุปกรณ์การสอนและวิธีสอนของครู สิ่งแวดล้อมของครูและผู้เรียนในขณะที่เรียน รวมถึงจุดประสงค์ของการให้การศึกษาแต่ละรูปแบบ เช่น การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นต้น ตลอดจนปัญหาด้านต่าง ๆ ในส่วนตัวครูและผู้เรียนซึ่งสิ่งเหล่านี้อยู่ในขอบเขตการนิเทศการศึกษาทั้งสิ้น
ฉะนั้น ผู้บริหารต้องคำนึงถึง และตระหนักว่าการนิเทศการศึกษา ไม่ใช่การจับผิด หรือหาข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน แต่เป็นการสร้างสัมพันธ์การทำงานร่วมกัน รับผิดชอบร่วมกันมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ซึ่งไม่ใช่เป็นการทำงานภายใต้การถูกบังคับจากผู้บริหารและคอยตรวจตราหรือคอยจับผิดว่าครูคนใดทำผิด รวมทั้งเป็นการเสริมเติมเต็มการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ และเป็นกระบวนการทำงานร่วมกันกับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ครูและบุคลากรได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น นำไปสู่เป้าหมายสูงสุดอยู่ที่ผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา การนิเทศให้กำลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นจุดมุ่งหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการนิเทศ เนื่องจากขวัญและกำลังใจเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้บุคคลมีความตั้งใจทำงาน หากผู้บริหารนิเทศไม่ได้สร้างกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว การนิเทศการศึกษาก็ย่อมประสบผลสำเร็จได้ยาก
TOM
PETERS
&ROBERT
WATERMAN
ROBERT WATERMAN เปนทีรู้จักเคียงคู่กันมากับ TOM PETERS ทีโด่งดัง มาจากผลงานวิจัย ทีเอามาเขียนเปนหนังสือ IN SEARCH OF EXCELLENCE และ ยังเปนนักพูดชันเยียมเคยเปนทีปรึกษาให้กับMCKINSEY&COMPANYทีเดียวกับ TOM PETERS เปนเวลา 21ปและมีบริษัททีปรึกษาของตนเองชือ THE WATERMAN GROUP
-
-
-
-
ช่วยให้การเปลียนแปลงขององค์กรในภารกิจทีมีความซับซ้อนมากๆ (เช่น ภายหลังการซือหรือควบรวมกิจการ) สามารถบริหารการจัดการได้ง่ายขึน 4
ช่วยตรวจสอบผลกระทบจากการเปลียนแปลงทีอาจเกิดขึนกับองค์กร และมองเห็นว่าองค์ประกอบใดควรปรับปรุงเปลียนแปลงเรืองใด 5
-