Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บที่ศีรษะทารก - Coggle Diagram
การบาดเจ็บที่ศีรษะทารก
ภาวะก้อนบวมน้ำใต้หนังศีรษะ
สาเหตุ
มารดา
ก่อนการตั้งครรภ
เบาหวาน
เชิงกรานแคบไม่ได้
สัดส่วนกับทารก
ตั้งครรภ
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
คลอดเฉียบพลัน
ทารก
ทารกมีส่วนนำผิดปกติ
หน้า
ไหล่
ก้น
ตัวโตมากเกิดการคลอดยาก
อายุครรภ์ไม่ครบกำหนด
หรือเกินกำหนด
คลอดไหล่ยาก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
การคลอด
ด้วยคีม หรือเครื่องดูดสุญญากาศ
ใช้แรงดึงมากเกินไปในการช่วยคลอดทารก
การบาดเจ็บจากการคลอด
ศีรษะ
ภาวะก้อนบวมน้ำใต้หนังศีรษะ
สาเหต
แรงดันที่กดลงบนศีรษะ
เครื่องดูดสุญญากาศช
อาการและอาการแสดง
พบได้ด้านข้างของศีรษะ ลักษณะการบวมฃ
ของก้อนโนนี้จะมีความกว้างและมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกต
การรักษา
ไม่จำเป็นต้องรักษาแบบเฉพาะทาง
จะหายไปได้เองภายหลังคลอด
ประมาณ 2 -3วันหลังคลอด
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด
การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของก้อนบวม
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทาง
ระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึง
อาการที่เกิดขึ้นเพื่อคลายความวิตกกังวล
ความหมาย
การบาดเจ็บที่เกิดกับทารกระหว่างคลอดจากแรงที่กระทำกับทารกโดยตรง และไม่เกี่ยวกับโรคที่มารดา
เป็นระหว่างการตั้งครรภ
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
ความหมาย
การคั่งของเลือดบริเวณใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
มีขอบเขตชัดเจน เนื่องจากภาวะนี้จะเกิด
บนกระดูกกะโหลกศีรษะเพียงชิ้นเดียวหรือเพียงชิ้นใดชิ้นหนึ่งเท่านั้น และไม่ข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ พบมากที่กระดูก parietal
สาเหต
มีระยะเวลาการคลอดยาวนาน
เครื่องดูดสูญญากาศช่วยคลอด
อาการและอาการแสดง
บวมจะมีขอบเขตชัดเจนบนบริเวณกระดูกกะโหลกศีรษะ
ก้อนโนเลือดมีสีสีดำหรือน้ำเงินคล้ำ
การรักษา
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ก้อนโนเลือดจะค่อยๆหายไปเอง
ภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและ
มีระดับบิลลิรูบินในเลือดสูง
จำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ
รายที่ก้อนเลือดขนาดใหญ่
อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
การพยาบาล
สังเกต ลักษณะ ขนาด
และการเปลี่ยนแปลง
ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้าม
กับก้อนโนเลือด เพื่อป้องกันการกดทับ
ที่จะกระตุ้นให้เลือดออกมากขึ้น
สังเกตอาการซีด
การเจาะหาค่า Hct
และดูแลให้เลือด
ดูแลเกี่ยวกับการหาค่า microbilirubin
ถ้ามีภาวะตัวเหลือง ให้การพยาบาล
ทารกที่ได้รับการส่องไฟ
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้นของทารกเพื่อลดความวิตกกังวล
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ความหมาย
นภาวะที่เลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ
อาจเกิดขึ้นที่ตำแหน่งเหนือเยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา
ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นดูรา ใต้เยื้อหุ้มสมองชั้นอะแรคนอยด์
ภายในเนื้อสมอง ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้น
อีเพนไดมัล ภายในห้องสมอง
สาเหต
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนเป็เวลานาน
การได้รับอันตรายรุนแรงจาการคลอด
อาการและอาการแสดง
Reflex ลดน้อยลง
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี มีอาการอ่อนแรง
มีภาวะซีด หรือมีอาการเขียว
ซึม ไม่ร้อง
ดูดนมไม่ดี หรือไม่ยอมดูดนม
ร้องเสียงแหลม
การหายใจผิดปกต
กระหม่อมโป่งตึง
ชัก
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกหายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดให้นอนราบ ศีรษะตะแคงไปด้านใดหน้าหนึ่ง อาจยกหัวเตียงสูงเล็กน้อย
ดูดสิ่งคัดหลั่งจากปากและจมูกให้หมด
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำที่เพียงพอ
ให้ทารกอยู่ในตู้อบ (incubator)
เตรียมเครื่องมือในการให้ความช่วยเหลือทารกไว้ให้พร้อม
ได้แก่ เครื่องดูดเสมหะ ลูกยางแดง
ออกซิเจน laryngoscope endotracheal tube
และเครื่องช่วยหายใจ
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และบันทึกไว้ทุก 2- 4 ชั่วโมง
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
ดูแลฉีดวิตามินเค จำนวน 1 มิลลิกรัม เข้ากล้ามเนื้อเพื่อป้องกันเลือดที่จะออกเพิ่ม
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดาเพื่อลดความวิตกกังวล
การรักษา
ถ้ามีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาจได้รับการรักษาโดยเจาะน้ำไขสันหลัง
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารกถ้าตัวเย็น
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชัก และให้วิตามินเค
ดูแลให้ออกซิเจนถ้าทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำอย่างเพียงพอ