Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา และทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคล…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดา
และทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
Abnormal powers
เเรงเบ่งผิดปกติ
สาเหตุ
เบ่งไม่ถูกหรือไม่กล้าเบ่ง ดิ้นไปมา ได้รับยาบรรเทาปวดหรือยาชาทางไขสันหลังหมดสติอัมพาต อ่อนเพลีย โรคหัวใจ HT Anemia เกล็ดเลือดตํ่า
วินิจฉัย
ท่านอนหงายราบ บิดตัวไปมาขณะเบ่ง ท่า lithotomy ไม่มีแรงเบ่ง
ผลกระทบ
acidosis ทารกขาดO2และเสียชีวิต ประสบการณ์คลอดไม่ด
Treat
สอนเบ่งให้ถูกวิธีถ้าผู้คลอดหมดแรงให้ใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การพยาบาล
• สอนวิธีลดลมเบ่ง >> หายใจเข้าลึกๆทางจมูกและออกทางปากช้าๆ
หายใจแบบเร็ว ตื้นและเป่าออก
• สอนเบ่งอย่างถูกวิธี
• จัดท่าในการเบ่งคลอดที่เหมาะสม
• ถ้าได้รับยาระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง กระตุ้นให้เบ่งตอนมดลูกหดตัว
• ประเมิน contraction และ FHR
มดลูหดรัดตัวผิดปกติ
Hypertonic uterine dysfunction
•ไม่สามารถทําให้ปากมดลูกเปิดหรือส่วนนํา
เคลื่อนตํ่า
•หดรัดตัวแรง บ่อย ไม่สมํ่าเสมอและไม่สัมพันธ์
กัน
•แรงดันขณะหดรัดตัว>50 mmhg หดรัดตัวแต่ละ
ครั้งห่างกัน<2 นาที
Incoordinated uterine cootraction
(มดลูกหดรัดไม่ประสานกัน)
มดลูกหดรัดตัวไม่สัมพันธ์กัน
• พบใน CPD แม่อายุมาก วิตกกังวล
การวินิจฉัย
การหดรัดตัวของกน.มดลูกส่วนกลางและล่างแรงกว่าส่วนบน > 60 mmHg มดลูกคลายตัวไม่เต็มที่ เจ็บครรภ์ตลอดเวลา ไม่มีความก้าวหน้า
Treat
CPDให้ C/S ถ้าไม่มี CPD ให้ยาระงับปวด ให้IV contracปกติให้ N/D ได้แต่หาก contract ผิดปกติอยู่ให้ C/S
Tetanic contraction : มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
สาเหตุ
• คลอดติดขัด (obstructed labor) >> ทําให้เกิด Bandl’s ring เกิดมกลูกแตก
• Non-obstructed labor จากการได้ยากระตุ้นมดลูกมากเกินหรือเร็วเกิน
การวินิจฉัย
เจ็บครรภ์มาก Duration >90 วินาที Interval < 2 นาที stationไม่เคลื่อน
Treat
คลอดติดขัด >> C/S ,ได้ยากระตุ้น >> ลด/off/ยาคลายมดลูก รกลอกตัวก่อนกําหนด >> C/S (ทารกมีชีวิต) N/D (ทารกตาย)
Constriction ring : มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
สาเหตุ
ได้รับยากระตุ้น, internal version ,หลังคลอดทารกครรภ์แฝด, นํ้าครํ่าน้อย
การวินิจฉัย
มดลูกหดรัตัวแรง ไม่สมํ่าเสมอ เจ็บปวดมาก PVพบผนังมดลูกเป็นวงตึงรัดรอบคอทารกหรือเกิดจากรกค้าง
ผลต่อมารดาและทารก
ตกค้าง PPH Acidosis ทารกขาดO2 เสียชีวิต
Treat
• ในระยะรอคลอด >> ลดปวด ถ้าวงแหวนไม่คลายให้ C/S
• ในระยะคลอด >> ให้ยาสลบ ทําคลอดใช้สูติศาสตร์หัตถการ
• ในระยะรกคลอด+เลือดออกมาก >> ดมยาสลบ+ล้วงรก
การพยาบาล
อธิบายระบาย ครส. , ประเมินcontrac&FHS ,ให้ยาลดปวด ,จัดท่านอนตะแคงศีรษะสูง IV fluid ,กพ.ปสว ว่าง เตรียมสูติศาสตร์หัตถการ
• ผู้คลอดที่มีการหดรัดตัวไม่คลาย >> ได้ยากระตุ้นให้หยุดยา นอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจน รายงานแพทย์ประเมินภาวะมดลูกแตก bandl’s ring ภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด ภาวะคลอดติดขัด C/S ด่วน
• ผู้คลอดที่มีการหดรัดตัวไม่ประสานกัน >> ประเมิน contrac ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก หากไม่ได้ผล C/s
• ผู้คลอดที่มีการหดรัดตเป็นวงแหวน >> หยุดยากระตุ้น ยาระงับความเจ็บปวด ประเมิน contraction หากวงแหวนไม่คลายให้ C/S หรือร้วงรก
Incoordinated uterine cootraction
(มดลูกหดรัดไม่ประสานกัน)
Abnormal passage
Bony passages
เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า(inlet contraction)
A-p diameter <10 ซม
A-p diameter <10 ซม
เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง(midpelvic contraction)
•Interspinous diameter<9 cm
•คลําพบ ischial spines นูน แหลม
•การรักษา
หลีกเลี่ยงยากระตุ้น,ถ้า mid pelvic แคบมา c/s
เชิงกรานแคบที่ช่องออก(outlet contraction)
•เมื่อปากมดลูกเปิดหมดเบ่งศีรษะทากรกเคลื่อน
ตํ่าแต่เมื่อหยุดเบ่งศีรทารกถอยกลับขึ้นไป
•การรักษา
ตัดฝีเย็บให้กว้าง
เชิงกรานแคบทุกส่วน (general contracted pelvis)
มักสิ้นสุดด้วย c/s
ผลกระทบต่อมารดา
•มดลูกแตก
•ติดเชื้อ
ผลกระทบต่อทารก
•คลอดยาวนานเด็กอาจ
เสียชีวิตได
การพยาบาล
•ระยะที่2
กระตุ้นให้เบ่งถูกวิธี
•ระยะที่3
ประเมิน bbleeding
•ระยะที่1
1ประเมิน contraction cx
2พบเชิงกรานแคบมาก เด็กตัวโต+ภาวะ CPD รายงานแพทย์ c/s
3ประเมินปกติลอง trial labor
-NPO+IV
-ถุงนํ้าครํ่าไม่แตกเดินได้หากแตกนอนพักบนเตียง
-ไม่มีข้อห้าม ARM ทํา ARM
Soft passage
ความผิดปกติของปากช่องคลอด
1.ช่องคลอดตีบตัน/ส่วนล่างตีบตัน
การรักษา:ตีบตันบางส่วน คลอดVg+ตัดฝีเย็บให้กว้าง
ตีบมากc/s
2.Rigid perineum (ฝีเย็บแข็ง)
การช่วยเหลือ:ตัดฝีเย็บให้กว้าง
3.ปากช่องคลอดบวม/มีก้อนเลือดคั่ง
การช่วยเหลือ:นอนพักบนเตียง,ผ่าตัดระบายก้อน,ABO
4.การอักเสบ/เนื้องอก
ความผิดปกติของช่องคลอด
1.vaginal stenosis
การช่วยเหลือ:คลอดทางช่องคลอดได
2.saptate vagina
การช่วยเหลือ: ผนังกั้นหนา ช่วยตัด หากผนังกั้นกว้าง c/s
ความผิดปกติของปากมดลูก
1.cervical stenosis
การช่วยเหลือ:vg และ c/s
2.Rigid cervix
เมื่อตั้งครรภ์ปากมดลูกจะนั่มขึ้นและเปิดขยายเอง
3.Edematous cervix
การช่วยเหลือ:นอนตะแคงซ้ายหนุนก้นสูง
4.มะเร็งปากมดลูก
c/s
ความผิดปกติของมดลูก
1.มดลูกควํ่าหน้ามาก
สาเหตุจาก ท้องหย่อนยาย
การช่วยเหลือ: ผันผ้าหน้าท้องเพื่อให้ตําแหน่งมดลูกอยู่ปกต
2.มดลูกควํ่าหลัง
3.มดลูกหย่อน
4.เนื้องอกมดลูก มักทําให้แท้ง
Abnormal passenges
Abnormal attitude
c/s
ความก้าวหน้าปกติ Vg
แต่ส่วนใหญ่ c/s
c/s
Abnormal engagement
Abnormal posterior
OPPท้ายทอยอยู่ด้านหลัง
•สาเหตุ
-มีสิ่งกีดขวาง ทําให้ศีรษะทารกหมุนไม่เป็นตามปกต
•ผลกระทบ
-ผู้คลอดเจ็บปวด อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า
•แนวทางการรักษา
-รอให้ศีรษะหมุนท่า OA ใช้เวลานาน
-ตัดฝีเย็บให้เฉียง กว้าง ลึก ถ้าส่วนนําอยู่สูง c/s
2.POPP ท้ายทอยอยู่หลังช่องเชิงกราน
•สาเหตุ -มีสิ่งกีดขวาง มดลูกรัดตัวไม่ดีเเรงเบ่งน้อย
•การรักษา เช่นเดียวกับ opp
3.OTP ท้ายทอยอยู่ด้านหลัง
Abnormal presentation
1.Breech presentation
•ชนิดBreech presentation
•สาเหตุและปัจจัย
-ผ่านการคลอดหลายครั้ง
-มดลูกหย่อน
_กระดูกเชิงกรานแคบ ตั้งครรภ์แฝดนํ้า
•การวินิจฉัย
1.ตรวจหน้าท้อง กลม เรียบ นุ่ม FSH สูงกว่า
ระดับสะดือ
2.ตรวจภายใน
3.u/s
•ผลกระทบ
•ผลกระทบต่อมารดา
-ถุงนํ้าครํ่าแตกนาน ติดเชื้อ
-สายสะดือพลัดตํ่า
•ผลกระทบต่อทารก
-ขาดO2
•การพยาบาล
-ถุงนํ้าครํ่าแตก ฟังFHS+pv ทันทีดูสายสะดือ
พลัดตํ่า
-NPO+IV
-เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอดท่าก้น
2.should presentation
•สาเหต
-หน้าท้องหย่อน รกเกาะตํ่า
-มดลูกมีความผิดปกต
•การวินิจฉัย
1.ตรวจหน้าท้อง ฟังFHS ได้สูงหรือตํ่ากว่าระดับสะดือเล็กน้อย
2.ตรวจภายใจ พบขอบกระดูกซี่โครง+หน้าอก ขอบกระดูกสะบัก
•ผลกระทบต่อมารดาและทารก
-เกิดสายสะดือพลัดตํ่า
-มีโอกาสเกิดการคลอดล่าช้า
-อาจเสียชีวิตได้
•แนวทางการรักษา
-ถุงนํ้ายังไม่แตกไม่เจ็บครรภ์ลองทํา ECV ถ้าทําแล้วไม่คลอด c/s
-ส่วนใหญ่ c/s
3.compound presentation
(แขน มือ ยื่นมาพร้อมส่วนนํา)
•แนวทางกานรักษา c/s
•การพยาบาล
-นอนพักที่เตียง ประเมิน FHS
-เตรียม c/s
นางสาวนภัสกร ไชยมงคล เลขที่ 55
รหัสนักศึกษา 61120301057