Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Respiratory Distress Syndrome - Coggle Diagram
Acute Respiratory Distress Syndrome
ARDS
เป็น ภาวะ ที่มีน้ำ ซากเม็กเลือดขาวอยู่ในหลอดเลือดที่ถุงลมเป็นจำนวนมาก เกิดขึ้นหลังการติดเชื้อรุนแรง หรือ ได้รับควัน สารพิษ
การรักษา : การได้รับออกซิเจน การขับน้ำออก
จากผนังถุงลม
การพยาบาล : รักษาต้นเหตุ ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา ให้ยาขับปัสสาวะ เพื่อลดจำนวนน้ำที่ผนังถุงลม ให้ผู้ป่วยสงบ
ความ
หมาย
ปอดทั้งสองข้างมีฝ้าขาว (Bilateral opacities)จสกภาพถ่ายรังสี ซึ่งไม่ได้มีสาเหตุมาจากพยาธิสภาพอื่นในปอด เช่น Pleuraleffusion , lung collapse หรือรอยโรคในเนื้อปอด
มีภาวะหายใจล้มเหลว ที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากภาวะหัวใจล้มเหลวหรือภาวะน้ำเกิน โดยในรายที่ไม่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด
ARDS อาจตรวจเพิ่มเติม เช่น การทำ echocardiography
มีอาการทางระบบหายใจที่เกิดขึ้นใหม่ หรืออาการแย่ลงภายใน 1 สัปดาห์
4.ความรุนแรงของโรคแบ่งตามระดับการพร่องออกซิเจนในเลือด
Cause
เกิดจากปอดโดยตรง(direct lung injury) เช่นPneumonia
เกิดจากปัจจัยภายนอกปอด(Indirect lung injury) เช่นsevere sepsis
3.การปรับ ventilator ที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดภาวะ Oxygen toxicityและเกิด ventilator association lung injury (VALI) ทำให้พยาธิสภาพของปอดแย่ลง
Risk
Factor
การเจ็บป่วยในภาะวิกฤติ มี sepsis มีการติดเชื้อใน
กระแสเลือดต้องรักษาในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีประวัติ พิษสุราเรื้อรัง (alcoholism) เป็นปัจจัย
เสี่ยงที่ทำให้เกิดการตายได้สูง
Complications
1.ลิ่มเลือดอุดตัน จากการนอนนานๆ ในการเจ็บป่วยวิกฤติ จากการใช่เครื่องช่วยหายใจที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดที่ขา และพัฒนามาสู่ pulmonary embolism
2.Collapsed lung (pneumothorax). การใช้เครื่องช่วยหายใจจะมีการเพิ่มออกซิเจนและน้ำซึ่งเป็นการเพิ่มแรงดันในปอดและทำให้เกิดลมรั่วในปอดได้ส่วนหนึ่ง
Infections ที่เกิดจากการใส่ท่อช่วยหายใจ และการใช้เครื่องช่วยหายใจที่สมารถทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ปอดได้ง่าย
4.Scarring (pulmonary fibrosis). ผนังถุงลมหนาขึ้นในระหว่างที่เกิดARDS ทำให้ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนก๊าซกับเลือดเป็นไปได้ลำบาก
Diagnosis
Heart tests
Treatme
nt
Oxygen
การรักษาโดยการใช้เครื่องช่วยหายใจ
1.1 Lung protective ventilation strategies (low tidal volume ventilation)
1.2 การใช้แรงดันบวกค้างในขณะที่สิ้นสุดการหายใจออก
(Positive end expiratory pressure)
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ High PEEP
เสี่ยงต่อการมี Hemodynamic ไม่คงที่
2.เสี่ยงต่อ Pneumo thorax
การรักษาที่ไม่ใช้เครื่องช่วยหายใจ : รักษาด้าย
ยา
Medicati
on
2.1 การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ขัดขวางการสื่อประสาท
2.2 การนอนคว่ำ (prone
position)
การจัดท่านอนคว่ำที่มีประสิทธิภาพ
ประกอบด้วย
Nervous system ดูแลให้ยานอนหลับและยาแก้ปวดที่เหมาะสมพยาบาลต้องประเมินระดับความรู้สึกตัว และประเมินภาวะสมองขาดออกซิเจน โดยดูการตอบสนองต่อแสงของรูม่านตา
Cardiovascular system อาจมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือความดันโลหิตต่ำ แต่มักเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ อาจต้องกลับมานอนหงายอีกครั้ง
Psycosocial concern การอธิบาย ผู้ป่วยและญาติ ให้รับทราบถึงความจำเป็น และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ต้องให้ความมั่นใจว่าผู้ป่วยจะปลอดภัย
Line and Tubing ต้องมีการผูกท่อช่วยหายใจและตรึงสายส่วนต่างๆ อย่างดีเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด Electrode EKGmornitor ให้นำมาติดด้านหลังเพื่อไม่ให้ถูก กดทับ และใช้การดูดเสมหะระบบปิด
Gastrointestinal system เพื่อป้องกันการสูดสำลัก ต้อง NPOอย่างน้อย 1 ชม. ก่อนการนอนคว่ำ และแนะนำให้จัดท่า ศีรษะสูงปลายเท้าต่ำ (reverse Trendelenburg position) ขณะให้อาหาร
Skin and tissue integrity ให้มีการใช้หมอนหรือวัสดุป้องกัน
การเกิดแผลกดทับรองบริเวณหน้าอก
2.3 การจัดการสารน้ำ (Fluids management)
2.4 การช่วยพยุงการทำงานของหัวใจและปอด (ECMO :
extracorpor membrane oxygenation)
Treatm
ent
การพยาบาลหลัก
การเฝ้าระวังสัญญาณชีพอย่างใกล้
ชิด
การตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการทำงานของอุปกรณ์ ที่ต้องประสานงานกับ นักปฏิบัติการเครื่องหัวใจและปอดเทียม
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดความคืบหน้า
ของ ARDS
เฝ้าระวังและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน
จัดท่าที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ประเมินและลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความเจ็บปวดทั้งจากพยาธิ