Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย
สูติศาสตร์หัตถการ
Forceps Extraction delivery
การใช้คีมจับศีรษะทารกเพื่อช่วยคลอด เป็นการใช้แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบของคีม (forceps)
1.Blade
Shank
Lock
Handles
Transverse process
ข้อบ่งชี้ด้านผู้คลอด
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด
Prolong 2nd stage of labor
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น occiput transverse
ทารกเป็นท่า occiput anterior เพื่อสะดวกในการคลอด
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยคีม
ผู้คลอด
การฉีกขาดช่องทางคลอด
อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
การหย่อนของกล้ามเนื้อ
ทารก
อันตรายต่อสมองทารก
อันตรายต่อศีรษะทารก
อันตรายต่อเส้นประสาทบริเวณหน้า
Vacuum Extraction delivery
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ โดยผู้
ทำคลอดออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะทารก
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Prolong 2nd stage of labor
ผู้คลอดมีโรคประจาตัว
ศีรษะทารกอยู่ในท ่าผิดปกต
ข้อห้าม
ภาวะ CPD
ส่วนนำทารกอยู่สูง
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง ท่าก้น
ทารกมีภาวะ macrosomia
ทารก preterm
ทารกได้รับการเจาะเลือดศีรษะก่อนคลอด
ทารกมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ทารกมีภาวะ fetal distress
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้คลอด
การฉีกขาดของปากมดลูก ช่องคลอดฝีเย็บ
PPH
Infection
ทารก
Cephalhematoma (เลือดออกใต้ชั้นเยื่อ
หุ้มกะโหลกศีรษะ)
Caput succedaneum (การบวมของหนังศีรษะ)
Scalp abrasion/laceration (การถลอกขาดของหนังศีรษะ)
Placenta removal
การล้วงรก (manual removal of placenta) เป็นหัตถการ
สำคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
สาเหตุ
ภาวะ cervical clamp
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะรกลอกตัวช้า ลอกตัว
ไม่สมบูรณ์ หรือไม่ลอกตัว
รกฝังตัวลึกผิดปกติ (placenta adherens)
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาทีและเลือดออกไม่เกิน 400 มิลลิลิตร
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอดโดยไม่สามารถเข้าไป Clamp จุดที่ขาดได้
ห้าม
ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
Cesarean section
การผ่าตัดเพื่อคลอดทารกออกทางรอยผ่าที่หน้าท้อง (laparotomy) และรอยผ่าที่ผนังมดลูก(hystrotomy)
ข้อบ่งชี้
การคลอดติดขัด, การคลอดไม่ก้าวหน้า, ทารกมีภาวะ fetal destress,ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ, มาดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
ขาดออกซิเจน
อันตรายจากการผ่าตัด
Version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก
ข้อบ่งชี้
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง
ข้อห้าม
ครรภ์แฝด
สตรีมีครรภ์ที่อ้วนมาก
มีความผิดปกติของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกแตก
ถุงน้าคร่าแตกก่อนกาหนด
รกลอกตัวก่อนกาหนด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายใน
ข้อบ่งชี้
การคลอดแฝดคนที่สอง
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อห้าม
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
ส่วนนาทารกเคลื่อนลงมาต ่ำมาก
ตกเลือดก่อนคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บต่อทารก
ช่องทางคลอดฉีกขาด
มดลูกแตก
รกลอกตัวก่อนกาหนด
ทารกเสียชีวิต
Breech delivery
Breech presentation
วิธีคลอดท่าก้น
Spontaneous breech delivery
Breech assisting delivery (partial breech extraction)
Total breech extraction
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
1.Laceration of perineal
2.Uterine rupture
3.Dystocia
4.PPH
5.Infection
ทารก
1.Fetal distress จากการคลอดติดขัด ล่าช้า
2.ข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
3.การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
4.การบาดเจ็บต่อสมอง
5.เส้นประสาทที่แขนได้รับบาดเจ็บ