Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
forceps extraction delivery
ข้อบ่งชี้ -ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนล้า ได้รับยาบรรเทาปวด -มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH -ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิกปกติ -ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยคีม -การฉีกขาดช่องทางคลอด -อันรายต่อกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ -การหย่อนต่อกล้ามดนื้อ ส่งผลให้เกิดมดลูกหย่อนได้ -PPH -อันตรายต่อสมองทารก -อันตรายต่อศีรษะทารกทำให้เลือดออกในชั้นหนังศีรษะ -อันตรายต่อเส้นประสาทบริเวณใบหน้า
ส่วนประกอบของคีม
2.shank คือก้านคีมที่ต่อกับ blade กับ lock ทำให้คีมมีความยาวขึ้น มี2 แบบ -parallel shank -overlapping shank
3.lock คือ ตำแหน่งยึด blade ทั้ง2ข้างไว้ด้วยกัน
1.Blade คือ ส่วนของคีมที่ใช้จับศีรษะทารก ลักษณะเป็นโค้งเว้า ปลายกว้างมน มี 2 ชนิด -solid blade -fenestrade blade
4.handles คือด้ามคีม ใช้จับเพื่อดึงหรือหมุน มีลักษณะเรียบหรือมีรน่องนิ้วเพื่อให้จับได้ถนัด
5.transverse process คือส่วนของคีมที่ยืดออกมาระหว่าง handle กับ lock ทางด้านข้างทั้ง2ข้างใช้สำหรับยึดเกี่ยวขณะดึง
หัตถการช่วยคลอดด้วยคีม หมายถึง การใช้คีมจับที่ศีรษะให้กระชับและเหมาะสม เพื่อช่วยคลอดศีรษะทารกโดยไม่เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารก เป็นภาวะใช้แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
การพยาบาล
ก่อนทำ -อธิบายแผนการช่วยคลอด -จัดท่าผู้คลอดท่า lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก -เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด -ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ขณะทำ -ฟังFHS ทุก 5 นาที on EFM เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง -ให้กำลังใจผู้คลอด -ขณะใส่คีมให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง -ประเมิน V/S เป็นระยะ -ให้หยุดเบ่งเมื่อทารกมาตุงที่ฝีเย็บหลังจากนั้นกระตุ้นให้เบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูก
หลังทำ -ประเมิน V/S การหดรัดตัวของมดลูก กระเพาะปัสสาวะ การฉีกขาดช่องทางคลอด PPH -แนะนำคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ -แนะนำสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด -ดูแลการได้รับยาหดรัดตัวของมกลูก
cesarean section
ข้อห้าม -ทารกตายในครรภ์ ทารกพิการไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อน -ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก -ทารกขาดออกซิเจน -ทารกได้รับอันตรายจากการผ่าตัด
การผ่าตัดคลอด หมายถึงการผ่าตัดเพื่อคลอดทารกออกทางรอบผ่าที่หน้าท้องและรอยผ่าที่ผนังมดลูก
การพยาบาล
ขณะทำ -ประเมิน V/S ทุก5-15นาที -สังเกตอาการและอาการแสดงภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับความรู้สึก -บันทึกปริมาณปัสสาวะ
หลังทำ -ประเมิน V/S -ประเมินแผลผ่าตัด -ประเมินแผลผ่าตัดแนะนำใช้มือประคองเมื่อไอ -ดูแลการำด้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก -ดูแลความสุขสบายทั่วไป -สังเกตอาการตกเลือด
ก่อนทำ -NPO 6-8 ชม.-Bed rest -ดูแลความสะอาดร่างกาย -สวนอุจจาระเช้าวันผ่าตัด -เจาะ G/M -ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ -ใส่สายสวนปัสสาวะ
ข้อบ่งชี้ -การคลอดติดขัด -การคลอดไม่ก้าวหน้า -รกเกาะต่ำ -ทารกขาดออกซิเจน -สายสะดือพลัดต่ำ -เคยผ่าตัดคลอดมาก่อน -โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม -มีประวัติคลอดยาก -ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธุ์ระยะใกล้คลอด
vacuum extraction delivery
ข้อห้าม -ภาวะ CPD -ส่วนนำทารกอยู่สูง -ท่ารกอยู่ในท่าผิดปกติ -ทารกมีภาวะ macrosomia -ท่รกคลอดก่อนกำหนด -ทารำมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ -ทารกมีภาวะ fetal distress
ข้อพิจารณาก่อนทำ -ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว -กระเพาะปัสสาวะไม่เต็ม -ไม่มีก้อนเนื้องอกมาขวางช่องทางคลอด -ทราบท่าทารกและระดับส่วนนำ -ปากมดลูกเปิดหมด -ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่เพียงพอ
ข้อบ่งชี้ -ไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ -มดลูกหดรัดตัวไม่ดี -ครรภ์แรกนานกว่า 2 ชม. ครรภ์หลังนานกว่า 1 ชม.-ผู้คลอดมรโรคประจำตัว -ศีรษะทารกอยู้ในท่าผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน -การฉีกขาดของปากมดลูก -PPH -การติดเชื้อ -ทารกเลือดออกใต้ชั้นเยื้อหุ้มกระโหลกศีรษะ -การถลอกของหนังศีรษะ -alopecia
หัตถการช่วยคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ หมายถึง การคลอดโดยใช้เครื่องสูญญากาศ โดยผู้ทำคลอดออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะทารกด้วยระบบสูญญากาศ เป็นการเสริมแรงเบ่งผู้คลอด
การพยาบาล
ขณะทำ -ฟังFHS ทุก 5 นาที on EFM เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง -ให้กำลังใจผู้คลอด -ขณะใส่เครื่องสูญญากาศให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง -ขณะมดลูกหดรัดตัวในเบ่งพร้อมแรงดึงเครื่องสูญญากาศ -หยุดเบ่งขณะแพทย์ตัดฝีเย็บ
หลังทำ -ประเมิน V/S การหดรัดตัวของมดลูก กระเพาะปัสสาวะ การฉีกขาดช่องทางคลอด PPH -แนะนำคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ -แนะนำสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด -ดูแลการได้รับยาหดรัดตัวของมกลูก
ก่อนทำ -อธิบายเกี่ยวกับการรักษา -จัดท่าผู้คลอดท่า lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก -เตรียมเครื่องดูดสูญญากาศ -ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารก เป็นหัตถการที่ทำมานาน ปัจจุบันไม่นิยมทำ ทำเมื่อเด็กเป็นท่าก้น
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก
ภาวะแทรกซ้อน -มดลูกแตก -ถุงน้ำร้ำแตกก่อนกำหนด -รกลอกตัวก่อนกำหนด -เลือดทารกรั่วเข้าสู่เลือดมารดา -น้ำคร่ำอุดกั้นในปอด -คลอดก่อนกำหนด -DFIU
การพยาบาล
ขณะทำ -ประเมิน FHS -ลดความวิตกกังวล
หลังทำ -ประเมินFHS -การตรวจ U/S -ตรวจ NST -ประเมิน -สังเกตอาการผิดปกติ
ก่อนทำ -อธิบายการรักษา -NPO -เตรียมอุปกรณ์ จัดท่านอนหงาย -ultrasound -ดูแลสารน้ำทางหลอดเลือดดำและยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ข้อห้าม -ครรภ์แฝด -สตรีที่อ้วนมาก -มีความผิดปกติของมกลูก -ทารกท่าก้น -รกเกาะต่ำ เลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ -fetal anormoly
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายใน
ภาวะแทรกซ้อน -การบาดเจ็บต่อทารก -ช่องทางคลอดฉีกขาด -มดลูกแตก -รกลอกตัวก่อนกำหนด -ทารกเสียชีวิต
การพยาบาล -ไม่ NPO -ให้กำลัง ประเมิน FHS -ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ
ข้อห้าม -เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก -ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก -ตกเลือดก่อนคลอด -มีอาการแสดงภาวะมดลูกแตกคุกคาม