Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ ( The Muscular system ) - Coggle Diagram
ระบบกล้ามเนื้อ ( The Muscular system )
กล้ามเนื้อลาย ( Skeletal muscle )
-เซลล์ของกล้ามเนื้อมีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวเรียว
-ภายในเซลล์พบนิวเคลียสรูปไข่หลายอัน
-อยู่ในอำนาจจิตใจ
มีทั้ง 792 มัด คือ 40% ของน้ำหนักตัว
โครงสร้างกล้ามเนื้อลาย
Myofilament
เส้นใยหนา (Thick filament)
เส้นใยของโปรตีนชนิดหนัก 2 สาย
เส้นใยโปรตีนชนิดเบา เป็นหัวขิงไมโอซีน
เส้นใยบาง (Thin filament)
Troponin มีลักษณะกลม
Troponin-T เป็นหน่วยที่รวมกับ Tropomyosin
Troponin-I เป็น
หน่วยที่คอยป้องกันการเกิดสะพานเชื่อม
Troponin-C เป็นหน่วยที่รวมตัวกับ Ca2+
Tropomyosin
มีลักษณะเป็นเส้นใย 2 เส้นสองพันกันเป็นเกลียว
Actin
F-actin ส่วนที่พับเป็นเกลียว (โมเลกุล Polypeptine)
G-actin ส่วนที่รวมกันเป็นก้อนทำหน้าที่จับกับ head ของ myosis
การเรียกกล้ามเนื้อ
ตำแหน่งที่ตั้ง
เช่นTemporalis,Intercostal,Tibialis,anterior
การจัดเรียงตัวใยกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตรง ชื่อ rectus
กล้ามเนื้อที่วางตัวในทางแนวตามขวาง ชื่อ transverse
กล้ามที่วางตัวในแนวตามเฉียง ชื่อ oblique
ตามรูปร่าง
Deltoid (triangle)
Trapezius (Trapezoid)
Palmaris iongus (long)
Palmaris brevis (short)
ตามขนาด
Maximus,Minimus
Longus,Brevis
Major,Minor
จำนวนจุดเกาะต้น
เช่น กล้ามเนื้อ biceps 2 หัว กล้ามเนื้อtriceps 3 หัว และกล้ามเนื้อ quadriceps 4 หัว
หน้าที่การทำงาน
เช่นflexor,extensor,abductor,adductor,rotator
ตามตำแหน่งของความสัมพันธ์
เช่นกล้ามเนื้อที่อยู่ภายนอกหรือบริเวณผิวหรือกล้ามเนื้อที่อยู่ลึก
ตามจุดเกาะต้นหรือจุดเกาะปลาย
ชื่อหน้าจะบอกตำแหน่งจุดเกาะต้น และชื่อหลังจะบอกตำแหน่งจะเกาะปลาย เช่น Sternocleidomastoid
โครงสร้างอื่นๆที่ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ
1.Sarcoplasmic reticulum (SR)
ทําหน้าที่สะสมแคลเซียม
2.Transverse Tubuiar System (T-Tubule)
นําสัญญานประสาทเข้าสู่ Triad ซึ่งจะเหนี่ยวนำให้มีการหลั่งแคลเซียมไออนจาก SR เข้าไปในเซลล์
กล้ามเนื้อเรียบ(Smooth muscle)
พบที่
ผนังของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบสืบพันธ์
กล้ามเนื้อขนตา และม่านตา
ที่ผิวหนัง ตามท่อของต่อมต่างๆ
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
เซลล์รูปร่างคล้ายกระสวย
ไม่มีลายให้เห็น
SE เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
ไม่มี T-tubule และไม่พบ Triad
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอรโ์มน
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์ เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
มีเส้นใยประสาทของระบบอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์ เช่น อะเซทิลโคลีนและนอร์อิฟิเนฟริน
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อปลายขา
กล้ามเนื้อของต้นขา
กล้ามเนื้อกลุ่มทางด้านหน้า
Sartorius ทำหน้าที่หุบขา งอปลายขา และช่วยหมุนปลายขาทางด้านใน
Quadriceps femoris
Rectus femoris ทำหน้าที่เหยียดปลายขา
Vastus Medialis ทำหน้าที่เหยียดปลายขา
Vastus intermedius ทำหน้าที่เหยียดปลายขา
Vastus lateralisทำหน้าที่เหยียดปลายขา
กล้ามเนื้อทางด้านหลัง
Biceps Femoris ทำหน้าที่งอปลายขา
Semimembranosusทำหน้าที่งอปลายขา
Semitendonosis ทำหน้าที่งอปลายขา
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านหน้า
Extensor digitorum longus ทำหน้าที่กระดกปลายเท้าขึ้น และเหยียดนิ้วเท้า
Extensor hallucis longus ทำหน้าที่กระดกปลายเท้าขึ้น และเหยียดนิ้วที่ 1
Peroneus Tertius ทำหน้าที่กระดกปลายเท้าขึ้น
Tibialis Anterio ทำหน้าที่กระดกปลายเท้าขึ้น และเหยียดนิ้วเท้า
กล้ามเนื้อทางด้านใน
Pectineus ทำหน้าที่งอ และหุบต้นขา
Adductor brevis ทำหน้าที่งอ และหุบต้นขา
Adductor longusทำหน้าที่หุบต้นขา
Gracilisทำหน้าที่หุบต้นขา
Adductor magnus ทำหน้าที่หุบต้นขา
กล้ามเนื้อด้านหลัง
Deep muscles
Popliteus,Flexor digitorum longus,Flexor
hallucis longus,Tibialis Posterior
ทำหน้าที่เหยียดปลายเท้าลง งอนิ้วเท้า และหังฝ่าเท้าเข้าด้านใน
Extensor digitorum brevis ทำหน้าที่เหยียดข้อต่อ
metatarsophalangeal ขอนิ้วเท้าที่ 2-5
Extensor hallucis brevis ทำหน้าที่ flexes and
medially rotates leg
Gastrocnemius,Soleus,Plantaris
ทำหน้าที่เหยียดปลายเท้าลง
กล้ามเนื้อด้านนอก
Peroneus brevis ทำหน้าที่ถีบปลายเท้าลงและหันฝ่าเท้าออกทางด้านนอก
Peroneus longus
ทำหน้าที่ถีบปลายเท้าลงและหันฝ่าเท้าออกทางด้านนอก
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อของก้น
Superior gemellus ทําหน้าที่กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Inferior gemellus ทําหน้ากางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator internusทําหน้าที่กางขาและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator externus ทําหน้าที่หมุนต้นขาออกด้านนอก
Piriformis ทําหน้าที่กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Tensor fascia lata ทําหน้าที่กางและงอต้นขา
Gluteus Minimus ทําหน้าที่กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Gluteus Medius ทําหน้าที่กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Gluteus maximus ทําหน้าที่กางและเหยยีดต้นขา
กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน
Levator ani and Coccygeus
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้านหลัง
Iliacusทําหน้าที่งอลําตัวและต้นขา
Psoas majorทําหน้าที่งอต้นขา
Quadratus lumborumทําหน้าที่งอกระดูกสันหลังระดับเอวไปด้านข้าง
2.กลุ่มที่มีกระดูก scapula มีจุดปลายที่กระดูก humerus
Teres minor ทำหน้าที่หมุนต้นแขนออกด้านนอก
Teres major ทำหน้าที่หมุนต้นแขนเข้าด้านใน
Supraspinatus ทำหน้าที่ช่วย deltoid ในการกางแขน
Infraspinatus ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนออกด้านนอก
Deltoid ทำหน้าที่กางแขน
Latissimus Dorsi ทำหน้าที่ดึงต้นแขน เข้าหาลำตัวไปด้านหลัง
Subscapularis
ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
Pectoralis major ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนเข่าทางด้านใน
กล้ามเนื้อภายในมือ และนิวมือ
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโป้งและด้านนิ้วก้อย
Dorsal interosseous ทำหน้าที่กางนิ้วมือที่ข้อต่อ metaphalangeal joint
Plamar interosseous ทำหน้าที่งอนิ้วมือที่ข้อต่อ metaphalangeal joint
Adductor pollicis ทำหน้าที่หุบหัวแม่มือ
Lumbricals ทำหน้าที่งอข้อต่อ metacarpophalangeal และเหยียดข้อต่อ interphalangeal joint
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย
Flexor digiti minimi brevis (hand)
ทำหน้าที่อยู่เป็นข้อต่อระหว่าง carpometacarpal
กับ metacarpophalangeal
Abductor digiti minimi ทำหน้าที่กางนิ้วก้อย
กล้ามเนื้อบริเวณนิ้วหัวแม่มือ
Opponeus pollicis ทำหน้าที่โอบนิ้วหัวแม่มือเข้าฝ่ามือและนื้วอื่นๆ
Flexor pollicis brevis ทำหน้าที่งอหัวแม่มือ
Abductor pollicis brevis ทำหน้าที่กางนิ้วหัวแม่มือ
กล้ามเนื้อต้นแขน
Coracobrachialis ทำหน้าที่งอต้นแขน และหุบต้นแขน
Brachialis ทำหน้าที่งอต้นแขน
Triceps Brachii ทำหน้าที่เหยียดปลายแขน
Biceps Brachii ทำหน้าที่งอต้นแขนและปลายแขน
กล้ามเนื้อปลายแขนทำหน้าที่ข้อมือ มือ และนิ้วมือ
กลุ่มที่่อยู่ด้านหลังของปลายแขน
กลุ่มที่อยู่ลึก
Extensor pollicis brevis ทำหน้าที่เหยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
Extensor pollicis longus ทำหน้าที่เหยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
Extensor indicis ทำหน้าที่เหยียดนิ้วชี้ และข้อมือ
Supinator ทำหน้าที่หงายฝ่ามือ
กลุ่มที่อยู่ตื้น
Extensor carpi ulnaris เหยียดและหุบมือ
Extensor digiti minimi ทำหน้าที่เหยียดนิ้วที่ 5 และข้อมือ
Extensor digitorum ทำหน้าที่เหยียดข้อมือและนิ้วมือ
Extensor carpi radialis brevis ทำหน้าที่เหยียดแขนแท่นล่าง และกางข้อมือ
Extensor carpi radialis longusทำหน้าที่เหยียดข้อมือและนิ้วมือ
Brachioradialis ทำหน้าที่งอปลายแขน
Anconeus ทำหน้าที่ช่วยกล้ามเนื้อ triceps brachii ในการยึดต้นแขน
กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน
กลุ่มที่อยู่ตื้น
Palmaris longus ทำหน้าที่งอข้อมือ
Flexor carpi ulnaris ทำหน้าที่งอข้อมือ
Flexor digitorum superficialis ทำหน้าที่งอ proximal interphalangeal joint ข้อนิ้วที่ 2-5
Flexor carpi radialisทำหน้าที่งอข้อมือ
Pronator teres ทำหน้าที่คว่ำมือและงอต้นแขน
กลุ่มที่อยู่ลึก
Flexor digitorum profundus ทำหน้าที่งอข้อต่อ distal interphalangeal ของนิ้วที่ 2-5
Flexor pollicis longus ทำหน้าที่งอข้อต่อdistal interphalangeal
ของนิ้วที่ 1
Pronator quadratusทำหน้าที่คว่ำปลายแขน
กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศรีษะและคอ
Scalenes ทำหน้าที่ก้มและหมุนคอยกกระดูกอันที่ 1-2 ขึ้นในขณะหายใจออก
Splenius capitis,Semispinalis capitis,Cervicis
and spinalis,Longissimus Capitis
Levator scapulae ทำหน้าที่ยกกระดูก scapular ขึ้นและหั่นคอไปด้านหลัง
Sternocleidomastoid ทำหน้าที่หดตัวพร้อมกัน 2 ข้างจะก้มศรีษะหดตัวข้างเดียวช่วยในการหมุนศรีษะไปด้านตรงกันข้าม
Longus Colli ทำหน้าที่ก้มศรีษะไปด้านหน้า
กล้ามเนื้อของช่วงไหล่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
คือกลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกาย และจุดเกาะปลายที่กระดูก clavicle และ scapular
Rhomboid Major ทำหน้าที่ดึงกระดูก scapular เข้าหาแนวกลางลำตัว
Pectoralis Minor ทำหน้าที่ดึงกระดูก scapula มาด้านหน้า
Trapezius ทำหน้าที่ยกไหล่และหมุนกระดูก scapula ขึ้นเวลากางแขน
Subclavius ทำหน้าที่ดึงกระดูก Clavicle ลงล่าง
Serratus Anterior ทำหน้าที่ดึงกระดูก scapula ให้แนบลำตัวและช่วยในการหายใจ
Rhomboid Minor ทำหน้าที่ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
Levator Scapulae ทำหน้าที่ยกกระดูก scapula
กล้ามเนื้อของกล่องเสียงทำหน้าที่ยกกล่องเสียงขึ้นขณะกลืนอาหารช่วยในการพูด ช่วยเปิด ปิดกล่องเสียงขณะพูด
กล้ามเนื้อที่พื้นของช่องปาก ทำหน้าที่ยกกล่องเสียงและกระดูก hyoid ขึ้นขณะกลืนอาหารหรือดึงขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
กล้ามเนื้อหลัง
Eerector spinae
Transversospinalis muscle
Splenius muscle
Segmental muscle
กล้ามเนื้อมฃที่ใช้ในการหายใจ
Internal Intercostalทำหน้าที่พยุงซี่โครงแต่ละชิ้นไม่ให้แยกออกจากกัน ในขณะผ่อนลมหายใจ
External Intercostal ทำหน้าที่ยกกระดูกซี่โครงและเพิ่มปริมาณช่องออกขณะหายใจ
Diaphragm ทำหน้าที่ในขณะที่มีการหายใจจะมีการหดตัวและลดต่ำลงทำให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านใน
Rectus Abdominus ทำหน้าที่งอลำตัวและกดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่มควาามดันในช่องท้อง
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้ายข้าง
Transverse Abdominis ทำหน้าที่กดผนังหน้าท้องและช่วยประคับประคองอวัยวะภายในช่องท้อง
External Oblique ทำหน้าที่แนวกึ่งกลางลำตัวบริเวณ linea alba กระดูก pubic และกระดูก ilium
Internal Oblique ทำหน้าที่กดผนังหน้าท้อง เพื่อเพิ่มความดันภายในช่องท้อง
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
1 . เซลล์ทำหน้าที่หดตัว
พบที่ผนังหัวใจทั้ง 4 ห้อง
กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์
ทำหน้าที่ผลิตศักย์ทำงานได้เองและส่งสัญญาณไฟฟ้าไปตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
ปุ่มเอสเอ
ปุ่มเอวี
กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ
ทำหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนๆของหัวใจได้แก่ bundle of His และ Punkinje fiber
เส้นประสาท
มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจคือ ประสาทอัตโนมัติทั้งประสาทซิมพาเธติค และพาราซิมเธติค
มีแถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลายแต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
การทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (Pacemaker และ Syncytium
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
มี T-tubule ใหญ่กว่า และ SE ไม่มีการพัฒนาเป็นกระเปาะ
ไม่พบ Triad
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อที่แสดงสีหน้า
กล้ามเนื้อรอบปาก
Depressor labii inferioris ทำหน้าที่ดึงริมฝีปากล่างลง
Risorius ทำหน้าที่ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
Levator labii superioris ทำหน้าที่ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปากและทำให้รูจมูกผายออก
Depressor anguli oris ทำหน้าที่ดึงมุมปากมาด้านล่าง
Levator anguli oris ทำหน้าที่ยกมุมปากขึ้นทำให้เห็นฟันขณะยิ้ม
Mentalis ทำหน้าที่ทำคางย่น
Orbicularis Oris ทำหน้าที่เม้มริมฝีปากหรือหุบปาก
Buccinator ทำหน้าที่ช่วยในการดูด การเคี้ยว การกลืน ผิวปาก
กล้ามเนื้อคอ
Platysma ทำหน้าดึงคางลงละริมฝีปากล่างลงมา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis ประกอบด้วย 2 ส่วน
tranverse part ทำให้รูจมูกแคบ
alar part ทำหน้าให้จมูกกว้างขึ้น
กล้ามเนื้อรอบตา
Orbicularis Oculi ทำหน้าที่หลับตา กระพีิบตา หยีตา
Corrugator supercilii ทำหน้าที่ขมวดคิ้ว
กล้ามเนื้อของหนังศรีษะ
Occipitalis ทำหน้าที่ดึงหนังศรีษะไปด้านหลัง
Frontalis ทำหน้าที่ยักคิ้ว หน้าผากย่น
กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว
Lateral pterygoid ทำหน้าที่ยื่นกระดูก mandible มาทางด้านหน้า และไปทางด้านข้าง
Medial pterygoid ทำหน้าที่ยกกระดูก mandible ขึ้น ทำให้มีการเคลื่อนกระดูก mandible ออกไปด้านข้าง
Masseter ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น
Temporalis ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้หุบปาก และถอยไปข้างหลัง
กล้ามเนื้อภายในเท้า
1 .กล้ามเนื้อทางด้านหลังเท้า
Extensor digitorum brevis ทำหน้าที่เหยียดข้อต่อ metatarsophalangeal ข้อนิ้วที่ 1
กล้ามเนื้อฝ่าเท้า
2.4 กล้ามเนื้อชิ้นที่ 4 ของฝ่าเท้า
2.4.2 Dorsal interosseous (foot)ทำหน้าที่กางนิ้วเท้าที่ 2-4 และงอ metatarsophalaneal ของนิ้วเท้า
2.4.1 Plantar interosseous (foot) ทำหน้าที่หุบนิ้วเท้าที่ 2-4 และงอ metatarsophalaneal ของนิ้วเท้า
2.3 กล้ามเนื้อชิ้นที่ 3 ของฝ่าเท้า
2.3.2 Adductor hallucis ทำหน้าที่ี adducts นิ้วหัวแม่มือ
2.3.3 Flexor digiti minimi brevis (foot) ทำหน้าที่งอนิ้วเท้าที่ 5
2.3.1 Flexor hallucis brevis ทำหน้าที่งอหัวแม่เท้า
2.2 กล้ามเนื้อชิ้นที่ 2 ของฝ่าเท้า
2.2.1 Quadratus plantae ทำหน้าที่ร่วมกับ flexor digitorum longus ในการงอนิ้วเท้าที่ 2-5
2.2.2 Lumbricals (foot) ทำหน้าที่งอและเหยียดข้อของนิ้วเท้าที่ 2-5
2.1 กล้ามเนื้อชิ้นที่ 1ของฝ่าเท้า
2.1.1 Abductor hallucis ทำหน้าที่งอและกางนิ้วหัวแม่มือ
2.1.2 Flexor digitorum brevis ทำหน้าที่งอนิ้วที่ 2-5
2.1.3 Abductor digiti minimi(foot) ทำหน้าที่กางและงอนิ้วที่ 5