Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ยารักษาอาการแองไจนา
ยาในกลุ่มไนเตรท
Isosorbide dinitrate
ขยายหลอดเลือดทั้งหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดง ส่งผลให้ความต้องการออกซิเจนของหัวใจลดน้อยลง
อาการข้างเคียง
ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนอิริยาบท
(postural hypotension, orthostatic hypotension)
การดื้อยา
เกิดจากการที่กลุ่มซัลไฮดริลที่เนื้อเยื่อลดลง ซึ่งสามารถแก้ไขโดยให้สารที่มีกลุ่มซัลไฮดริล เช่น acetylcysteine
ยาในกลุ่ม Beta Blocker, BB
Atenolol, metoprolol, propranolol
ลดอัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจ ผลคือ ลดความต้องการออกซิเจน ทำให้การทำงานของหัวใจลดลง
ผู้ป่วยที่ไม่แนะนำให้ใช้
ผู้ป่วย Prinzmetal’s angina เพราะยาBBจะทำให้เพิ่มการหกเกร็งของหลอดเลือดได้
ผู้ป่วยหอบหืด ยาในกลุ่มBBอาจทำให้หลอดลมเกิดการหดตัว
ผู้ป่วยเบาหวาน เนื่องจากยาในกลุ่มBBจะบดบังอาการหัวใจเต้นเร็ว ซึ่งเป็นอาการที่บอกถึงการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
Calcium channel blockers, CCB
diltiazem, verapamil, nifedipine
มีการขยายหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจเพิ่มมากขึ้น ลดการทำงานของหัวใจทำให้ความต้องการออกซิเจนลดลง
ยากลุ่มอื่นๆ
Metabolic modulators
Trimetazidine
Ranolazine
If channel inhibitor
Ivabradine
ยารักษาอาการหัวใจล้มเหลว
ยาที่ทำให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
amrinone
ใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น
ข้อจํากัดของยาในกลุ่มนี้คือ การให้ยาต้องให้ยาทางหลอดเลือดดํา
ยาในกลุ่ม digitalis และ cardiac glycosides อื่น ๆ
ได้จากพืชหลายชนิด เช่น Digitalis lanata ,Digitalis purpurea
และในสัตว์พบในต่อมที่ผิวหนังของคางคกซึ่งมี bufadienolides
ยับยั้ง Na+, K+ ATP ase ผลคือ จะเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ระดับของโปตัสเซียมจะมีผลต่อฤทธิ์ของcardiac glycoside คือในภาวะโปตัสเซียมในเลือดต่ำพบการเพิ่มฤทธิ์ของ cardiac glycoside
ปัจจัยที่มีผลต่อความเป็นพิษของการให้ยาในขนาดสูงหรือให้ร่วมกับยาขับปัสสาวะที่มีผลทำให้โปตัสเซียมในเลือดต่ำ
การรักษาอาหารพิษ
วินิจฉัยให้ถูกต้องก่อนว่าอาการพิษจาก digitalis glycoside
หยุดให้ digitalis glycoside หรือยาขับปัสสาวะที่ทำให้โปตัสเซียมในเลือดลดลง
ยาในกลุ่มอนุพันธ์ของ bipyridines
Amrinone, milrinone
เพิ่มความแรงของการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ยับยั้งเอนไซม์phosphodiesterase
ในการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวแบบเฉียบพลัน ในระยะสั้น ๆ
ยาในกลุ่ม sympathomimetic agents
Dopamine, dobutamine
เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจทําให้ cardiac output เพิ่มขึ้น
ยามีผลทําให้หัวใจเต้นเร็ว และต้องการออกซิเจนมากขึ้น
ยาในกลุ่ม sympathomimetic agents
Dopamine
ห้ามให้ร่วมกับ Dilantin จะทําให้ BP ตํ่า และหัวใจเต้นช้า
ห้ามให้พร้อมสารละลายที่เป็นด่าง
Dobutamine
ระวังในผู้ป่วย MI
ห้ามผสมยาในสารละลายที่มีความเป็นด่าง
Beta-Blockers
Bisoprolol, metoprolol, carvedilol, nebivolol
ต้านฤทธิ์ของ Sympathetic nervous system
ลดการเกิดremodelling, ลดความรุนแรงของโรค
Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEI)
ลด afterload
โดยการยับยั้ง angiotensin ที่ทําให้เกิดเส้นเลือดหดตัว
ลด preload ลดปริมาตรของเหลวในร่างกาย
ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Class I Sodium channel-blocking drugs
ยับยั้งการนําโซเดียมเข้าสู่เซลล์ กดการเกิด phase O และลดการนําไฟฟ้าในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจทําให้กดexcitability, conductivity และcontractility
Class IA: quinidine, procainamide, disopyramide
Class IB: lidocaine, phenytoin, tocainide,
mexiletine
Class IC : encainide, lorcainide, flecainide
Class II Beta adrenoceptor-blocking drug
propranolol , acebutolol และ esmolol
ออกฤทธิ์การปิดกั้น beta-receptor และส่งผลโดยตรงต่อ membrance
ต้องระวังผลในการกดแรงบีบตัวของหัวใจ, bradyarrhythmias
และ bronchospasm
Class III Drug that prolong effective refractory period by
prolonging action potential
Amiodarone, Bretylium, Sotalol
Amiodarone
Class IV Calcium channel blocker
verapamil, diltiazem
มีผลทําให้การสร้างไฟฟ้า และการนําไฟฟ้าของ SA node และ
A.V.node ลดลง หัวใจบีบตัวลดลง และหลอดเลือดขยายตัว
Conclusion
Antiarrhythmic drugs แต่ละตัวมีกลไกการออกฤทธิ์มากกว่า1อย่าง การจัดกลุ่มของยาเป็นเพียงการดูจากฤทธิ์หลัก
Antiarrhythmic drugs ส่วนใหญ่อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะได้ การใช้ยาในกลุ่มนี้จึงค่อนข้างมีข้อจำกัด
Amiodarone (class III) จัดเป็นยาที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงที่สุดในปัจจุบัน