Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์ และภาวะกรดด่างในร่างกาย, สมดุลของกรด-ด่าง,…
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์ และภาวะกรดด่างในร่างกาย
หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย (FUNCTION OF BODY FLUID)
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆไปยังระบบที่เหมาะสม
ใช้ในปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกายเช่นการสลาย ATP (adenosine triphosphate) เพื่อให้ได้พลังงาน
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของส่วนนั้น ๆ
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ WATER EXCESS AND WATER INTOXICATION
เกิดจาก - การคั่งของทั้งเกลือและน้ำ (isotonic expansion) - การคั่งของน้ำอย่างเดียว (water volume excess) - การคั่งของน้ำมากกว่าเกลือ (hypo-tonic expansion)
กรณีที่มีการคั่งของน้ำอย่างรุนแรงจะทำให้เกิดภาวะพิษของน้ำเรียก waterintoxication ซึ่งมักพบได้ในภาวะไตวาย
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ไตปกติ แต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น เครียด คลื่นไส้ ที่มีความล้มเหลวในการควบคุมการหลั่งและยับยั้งฮอร์โมน ADH
ผู้ป่วยที่ขาดโซเดียมทำให้น้ำเข้าเซลล์มากขึ้นเกิดภาวะน้ำเกินภายในเซลล์คนจมน้ำจืดผู้ป่วยที่ขาดคอร์ติโคสเตียรอยเช่นโรคแอดดิสันขาดฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองทำให้หลอดไตไม่ตอบสนองต่อภาวะน้ำเกิน
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
น้ำที่เกินจะเคลื่อนที่จากภายนอกเซลล์เข้าไปภายในเซลล์จนกระทั่งความเข้มข้นเท่ากันทำให้เซลล์บวมระดับ Hct จะไม่เปลี่ยนแปลง
การตอบสนองของร่างกาย
ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณ น้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้งการหลั่ง ADH
อัลโดสเตอโรน ปัสสาวะจึงออกมากขึ้นร่วมกับกลไกยับยั้งการทำงานของศูนย์กระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลัน
อาการที่พบคือ ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อุปนิสัยและกิริยา
ท่าทางผิดปกติ กระตุก ชัก ความดันเลือดสูง
น้ำหนักตัวเพิ่ม :
ม่านตาขยายไม่เท่ากัน ซึม
ไม่รู้สึกตัว รีเฟล็กซ์ไวขึ้น การหายใจหยุด
แบบเรื้อรัง อาการที่พบ
อ่อนเพลีย
ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เลอะเลือน
พบอาการบวมได้เมื่อผู้ป่วยป่วยมีน้ำเกินในส่วนน้ำนอกเซลล์ 3 หรือมีน้ำเกินทั้งหมดในร่างกาย 9 ลิตร อาการบวมอาจเกิดทั่วร่างกาย หรือเฉพาะที่
ถ้ามีอาการบวมในปอด จะทำให้หายใจลำบาก และเหนือย หอบ ไอมาก
น้ำ (total body fluid) เป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3 ของร่างกายซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ ๆ โดยมีเยื่อกันบาง ๆ (membrane) เป็นตัวแยก : 55-60% ของน้ำหนักตัว
1.
น้ำภายในเซลล์
(intracellular fluid ICF) : 40% ของน้ำหนักตัว
น้ำภายนอกเซลล์
(extracellular fluid ECF) : 20% ของน้ำหนักตัว
2.1
น้ำภายในหลอดเลือด
(intravascular fluid หรือ plasma) 5% ของน้ำหนักตัว
2.2
น้ำระหว่างเซลล์
(interstitial fluid) ซึ่งเป็นน้ำส่วนที่อยู่นอกหลอดเลือดและอยู่ตามช่องว่าง
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำ ควบคุมโดยปริมาตรน้ำและความเข้มข้นของพลาสมา ศูนย์กระหายน้ำในไฮโปธาลามัส (Hypothalamus)
กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ
การกระหายน้ำ
สมองส่วน hypothalamus ควบคุมปริมาณน้ำในเลือด ถ้าร่างกายขาดน้ำมากจะทำให้เลือดเข้มข้นกว่าปกติเกิดอาการกระหายน้ำ การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ส่งผลให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสไปกระตุ้นปลายประสาทในต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADHI หรือ ADH (anidiuretic hormone) เข้าสู่กระแสเลือด
ADH ไปกระตุ้นท่อหน่วยไตให้ดูดน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือดทำให้ปริมาณน้ำในหลอดเลือดสูงขึ้นและความรู้สึกกระหายน้ำลดน้อยลง
ถ้าเลือดเจือจาง ไฮโพรทาลามัสจะยับยั้งการสร้าง ADH ทำให้การดูดน้ำกลับคืนน้อยน้อย ปริมาณน้ำในร่างกายจึงอยู่ในสภาวะสมดุล
การขับปัสสาวะ อาศัยไต ควบคุมโดยความเข้มข้น และปริมาตรของพลาสมา
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมา ให้คงที่โดย
อาศัย ADH
กลไกควบคุมปริมาตรน้ำ: การกรองที่ไต aldosterone-ADH
WATER INTAKE
น้ำเข้า
(1500-3000 ML)
รับน้ำ 3 ทาง
น้ำดื่ม อาหารเหลว น้ำที่ปนในอาหาร (500-1500 ml)
อาหาร เช่น ข้าว เนื้อ ผัก ผลไม้ (800-1000 ml)
เมตาบอลิซึมของร่างกาย : วิธี water of oxidation หรือ metabolic water (200-500 ml)
WATER OUTPUT
น้ำออก
(1300- 3000 ML)
สูญเสียน้ำ 2 ทาง
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (insensible perspiration) ประมาณ 500-800 ml. ทางผิวหนัง 300 ml. ปอด 300-500 ml. ขึ้นอยู่กับ อัตราเมตาบอลิซึม อุณหภูมิของร่างกาย ความชื้น อุณหภูมิของอากาศ กิจกรรมที่ทำ อารมณ์
ทางที่ปรับสมดุลได้ (insensible perspiration) ได้แก่ - ทางเดินอาหารออกไปกับอุจจาระ 100-200 ml. - ผิวหนังโดยทางเหงื่อ 0-10 ml. (5000 ml. ถ้าออกกำลังกายหนัก) - ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 500-3000 ml. ขึ้นอยู่กับการดื่มน้ำ, ปริมาณ ADH น้อย (ปัสสาวะมาก), ปริมาณตัวละลาย (solute) ที่กรองผ่าน glomerulus (ขับ uria มากปัสสาวะมาก), สมรรถภาพของไต, และการเสียน้ำทางอื่น (เหงื่ออาเจียนท้องเสีย = ขับปัสสาวะออกน้อย)
Dehydration
สีปัสสาวะบอกภาวะขาดน้ำ
ร่างกายได้รับน้ำพอดีและขับออกอย่างเหมาะสมดื่มน้ำตามปกติที่ดื่มอยู่
ควรดื่มน้ำมากขึ้นอีกนิดอาจจะแก้วเล็ก ๆ ก็พอ
ควรดื่มน้ำประมาณครึ่งยวด (1/4 ล.) ภายใน 1 ชั่วโมงหรือดื่ม 1 ขวด (500 มล.) หากอยู่ข้างนอกหรือเหงื่อออก
ควรดื่มน้ำครึ่งขวด (1/4 ล.) ตอนนี้เลยหรือดื่ม 1 ขวด (500 มล.) หากอยู่ข้างนอกหรือเหงื่อออก
ควรดื่มน้ำ 2 ขวด (1 ล.) ตอนนี้เลยและควรไปพบแพทย์หากมีสีเข้มกว่านี้ออกสีแดงหรือน้ำตาล
อาการขาดน้ำ
อาการขาดน้ำที่รุนแรงน้อยถึงปานกลาง ได้แก่ ผิวแห้ง, ริมฝีปาก, ช่องปากแห้ง, อ่อนเพลีย, เหนื่อยง่าย, ปัสสาวะน้อย, มึนหัวเวียนศีรษะ
อาการจากขาดน้ำรุนแรง ได้แก่ กระหายน้ำรุนแรง, สับสนกระสับกระส่ายซึมผิวหนังแห้งมาก, ปากแห้งมากตาลึกโหล, ไม่มีเหงื่อปัสสาวะน้อยมากสีเหลืองเข็มมาก, กระหม่อมจะทุ่มลึก, มีไข้มักเป็นไข้ต่ำ แต่บางคนไข้สูง, ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะขาดน้ำ (Fluid deficit หรือ Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับอาจขาดเฉพาะน้ำอย่างเดียวหรือ ขาดน้ำมากกว่าเกลือ (hypertonic dehydration) ขาดทั้งน้ำและเกลือ (isotonic dehydration หรือ hypotonic dehydration)
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อย ดื่มน้ำน้อยเกินไป โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รวมถึงผู้ที่มีอาการป่วยเป็นหวัด หรือเจ็บคอ ทำให้รู้สึกเบื่ออาหารและดื่มน้ำน้อยลง
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ในผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและแร่ธาตุเป็นจำนวนมาก รวมถึงการสูญเสียน้ำผ่านทางบาดแผลที่ผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้ แผลในปาก แผลติดเชื้อที่ผิวหนังหรือโรคผิวหนังอย่างรุนแรง เป็นต้น
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
เมื่อร่างกายขาดน้ำ จะมีผลทำให้ความเข้มข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น
จึงดึงน้ำจากภายในเซลล์ ออกสู่ภายนอกเซลล์ จนกระทั่งความเข้มข้นในและนอกเซลล์เท่ากัน
เนื่องจากปริมาตรน้ำในเซลล์มากกว่าน้ำนอกเซลล์ในอัตราส่วนน้ำในเซลล์น้ำนอกเซลล์เท่ากับ 2 : 1
ดังนั้นจึงมีผลทำให้เซลล์ขาดน้ำ 2 ส่วนและนอกเซลล์ขาดน้ำ 1 ส่วน
ระดับ Hematocrit (Hct) และความตึงของผิวหนังไม่เปลี่ยนแปลง
วิธีประเมินค่าความเป็นกรด-ด่างของร่างกายโดยการตรวจวัด Arterial Blood Gas (ABGs)
สิ่งที่วัด
pH ค่าปกติ 7.35-7.45 - บอกความเข้มข้นของ H+
PCO2 ค่าปกติ 35-45 mm.Hg. - วัดแรงดันของ CO2 ซึ่งบ่งบอกถึงความเข้มข้นของ carbonic acid (H2CO3-) ในเลือด
HCO3 ค่าปกติ 22-26 mEq / L. - บอกความเข้มข้นของ bicarbonate (HCO3-)
BE (Base exess) ค่าปกติ +2 - ด่างที่เป็น buffer ในเลือด (Blood buffer base) BE. ที่มีค่าเป็น + มากแสดงว่ามีต่างในเลือดมาก
PO2 ค่าปกติ 80-100 mm.Hg. - วัดแรงดันของ O2 ในเลือดแดงบ่งบอกถึงความเข้มข้นของ O2 ในเลือด
การแปลผล ABGs
ขั้นที่ 1 ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status) pH 47.35 =
acidosis
pH> 7.45 =
alkalosis
ขั้นที่ 2 ดูคำ PaCO2 (บอกความผิดปกติของ Respiratory system) PaCO2 > 45 mmHg. =
acidosis
PaCO2 < 35 mmHg. =
alkalosis
ชั้นที่ 3 ดูคำ HC03- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system) HCO3- > 26 =
alkalosis
HCO3- < 22 =
acidosis
ชั้นที่ 4 พิจารณาการชดเชย 1. กรณีไม่มีการชดเชย (non compensation) ค่า PaCO2, HCO3- ค่าใดค่าหนึ่งเปลี่ยน อีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปในแนวทางของ pH (acidosis, alkalosis) ตามสาเหตุ 2. กรณีมีการชดเชย 2.1 ชดเชยบางส่วน (partly compensation)
pH ผิดปกติ
และค่า PaCO2, HCO3 เปลี่ยนแปลงตรงข้ามกันคือ ค่าหนึ่งเป็นกรดอีกค่าเป็นด่าง 2.2 ชดเชยสมบูรณ์ (completely compensation) pH อยู่ระหว่าง 7.35 -7.45 ใช้เกณฑ์ 7.40 pH < 7.4 =
acidosis
pH > 7.4 =
alkalosis
ชั้นที่ 5 ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ดูจากค่า PaO2 61-80 = mild hypoxemia 40-60 = moderate hypoxemia < 40 = severe hypoxemia
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Primary metabolic acidosis : เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
Primarry metabolic alkalosis : มีการสะสม bicarbonate ในร่างกายเกิดจาการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
Primary respiratory acidosis : ลดการหายใจ CO2 สูงขึ้น pH ลดลง
Primary respiratory alkalosis : เพิ่มการหายใจ CO2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น
การควบคุมความสมดุลของกรด - ด่าง
(regulation of acid base balance )
ในสภาวะปกติของร่างกาย metabolism ของร่างกายจะเกิดกรดตลอดเวลา แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ
Fixed acids ได้แก่ sulfuric acid และ phosphoric acid
กรดอินทรีย์ เช่น lactic acid, acetoacetic acid และ butyric acid
Volatile acid ได้แก่ CO2
CO2 + H2O —> H2CO3 —> H+ + HCO3-
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
เลือดแดง
pH ปกติมีค่า 7.35-7.45
เลือดดำ
และใน
ช่องว่างระหว่างเซลล์
pH มีค่าประมาณ 7.35
ภายในเซลล์ pH ปกติอยู่ระหว่าง 6.0-74 แตกต่างกันในเซลล์ต่างๆ
pH ในเลือดแดงมีค่า > 7.45 เรียก
alkalosis
pH ในเลือดแดงมีค่า < 7.35 เรียก
acidosis
ภาวะปกติค่า pH
pH ในเลือดแดง (arterial blood pH) มีค่าประมาณ 7.4
pH ใน เลือดดา (venous blood pH) มีค่าประมาณ 7.35 pH ในเลือดดำต่ำกว่าในเลือดแดงเนื่องจากในเลือดดำมีคาร์บอนไดออกไซด์อยู่มากกว่าในเลือดแดง
pH ภายในเซลล์มีค่าเป็น 7.0–7.2 เนื่องจาก ภายในเซลล์เป็นแหล่งให้คาร์บอนไดออกไซด์และกรดอินทรีย์ต่างๆอยู่ เกือบตลอดเวลา
Alkalosis : ภาวะที่ร่างกายมีความเป็น
ด่าง
เกิดขึ้นมีระดับของ pH ในเลือดแดง > 1.45
Arterial Blood Gases :
วิธี
ประเมินค่าความเป็น
กรด-ด่าง
ของร่างกาย การเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดงแล้วนำไปหาค่า
Buffer : สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่หรือด่างแก่ลงไป หรือ pH จะเปลี่ยนแปลงก็เป็นเพียงเล็กน้อย
Acidosis : ภาวะที่ร่างกายมีความเป็น
กรด
เกิดขึ้นมีระดับของ pH ในแดง < 7.35
Buffer : มีอยู่ในและนอกเซลล์ จะปรับภาวะกรด-ด่างให้เข้าสู่สมดุลภายในไม่กี่วินาที มีปริมาณจำกัด เมื่อใช้หมดร่างกายจะอาศัยการทำงานของอวัยวะระบบอื่นในการแก้ภาวะเสียสมดุล- ระบบหายใจ ปอด : ควบคุมอัตราการกำจัด CO2 ออกจากร่างกายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง carbonic acid (H2CO3)- ไต : ควบคุมปริมาณการขับทิ้ง H+ ในปัสสาวะมีประสิทธิภาพในการควบคุมกรด-ด่างมากที่สุด
Buffer
เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้
ทำปฏิกิริยากับกรดและด่างเกิดเป็นเกลือของกรดหรือด่างนั้นซึ่งมีสภาพเป็นกลางหรือกรดอ่อนตามสมการ
ด่างอ่อน (buffer) + กรดแก่ —> เกลือ + กรดอ่อน NaHCO3 (buffer) + HCI- —> NaCI + H2CO3
แบ่งออกเป็น 4 ระบบ
Haemoglobin buffer system
สำคัญมากในเซลล์ เนื่องจากจะรวมกับ H+ กลายเป็น HHb และรวมตัวกับ CO2 เป็น HHbCO2
Protein buffer system
พบทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ ส่วนใหญ่พบในเซลล์ มีประจุลบจึงเป็น buffer ที่มีความสำคัญในเซลล์
Phosphate buffer system
เป็น buffer ที่สำคัญในเซลล์มากกว่าในเลือด เนื่องจากมีอยู่ในเซลล์จำนวนมาก โดยเฉพาะใน Red blood cell และ renal tubule cell
Bicarbonate-carbonic acid buffer system 1. ในร่างกาย เช่น plasma มี pH = 74 - bicarbonate (HCO3) = 27 mEq / L - carbonic acid (H2CO3) = 1.35 mEq/L 2. สมการ Henderson และ Hasselbach PH = pK + log (HCO3)/(H2CO3) pk (H2CO3) = 6.1 3. bufer ระบบนี้มีความสำคัญที่สุดในเลือด - มีปริมาณมากที่สุดในเลือด - มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ภาวะร่างกายได้รับด่าง NaOH เพิ่มขึ้น
NaHCO3 + H2CO3 —> NaHCO3- + H2O
pH = pK log (HCO3) /(H2CO3) = pK log (
ภาวะร่างกายได้รับกรด H+ เพิ่มขึ้น
H+ + HCO3- —> H2CO3 H2CO3- —> CO2 + H2O l v ขับออกร่างกายขับออกทางลมหายใจ pH = pK log (HCO3-)/ (H2CO3) = pk log (HCO3-)/ (CO2 + H2O)
ระบบหายใจ
สามารถปรับ pH ภายใน 1-15 นาที ให้ผลสูงสุดที่ 12-24 ชม.
การควบคุม pH โดยระบบหายใจ ให้ผลระหว่าง 50-75% - ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 —> H+ ที่เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อกำจัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 —> l+ ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
ไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกายโดยเฉพาะ non-volatile acid
non-volatile acid จาก protein : amino acid ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
non-volatile acid จาก lipid : keto acid
non-volatile acid จาก carbohydrate: lactic acid และ Pyruvic acid
กลวิธีในการรักษาสมดุลกรด-ด่างของไต
การดูดซึมกลับของ bicarbonate 2. การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titatable acid 3. การขับ H+ โดยการสร้างเกลือแอมโมเนีย - ในภาวะที่ร่างกายเป็นกรด กลวิธีทั้ง 3 ประการจะทำงานมากขึ้นปัสสาวะจะมี pH ต่ำลง อาจต่ำได้ถึง 4.0 มีการขับถ่าย titratable acid และเกลือแอมโมเนียเพิ่มขึ้น - ในภาวะที่ร่างกายเป็นด่าง กลวิธีในการขับ H+ และดูดซึม bicarbonate กลับจะลดลง ปัสสาวะเป็นด่างอาจมี pH ได้ถึง 8.0 มีการขับ bicarbonate ในปัสสาวะการสร้าง Citratabie acid และเกลือแอมโมเนียน้อยลง
Metabolic mechanism ใช้เวลาเป็นชั่วโมงถึงเป็นวันและเต็มที่ภายใน 3-6 วันโดยมีไตเป็นอวัยวะสำคัญในกลไกนี้ซึ่งประกอบด้วย 3 วิธีคือ
การขับ bicarbonate จาก distal tubule และ collecting duct ออกมาในปัสสาวะกรณีที่ร่างกายมีภาวะเป็นด่าง
การขับกรด (H+) ออกมาในปัสสาวะที่ distal tubule และ collecting duct
H+ ที่ถูกขับออกมาจาก tubular cell จะรวมกับ NH3 เป็น NH4+ หรือรวมกับเกลือฟอสเฟต (HP04- NaHPO4-) ทำให้ H+ ถูกขับออกทางปัสสาวะ
การดูดซึม bicarbonate ที่กรองผ่าน glomeruli กลับที่ proximal tubule (bicarbonate resorption) ร้อยละ 75 ของ bicarbonate ที่ถูกกรองจากไตจะถูกดูดกลับบริเวณนี้โดยกลไก
H+ ถูกขับจาก tubular cell เข้ามาใน lumen โดยการแลกเปลี่ยนกับ Na+
H+ ใน tubule จะรวมกับ HCO3- เป็น H2CO3 และแตกตัวเป็น H2O + Co2
CO2 ที่ได้จะกลับเข้าสู่ tubular cell และรวมกับ H2O เป็น H2CO3 และแตกตัวเป็น H+ + HC03-
H+ ที่ได้จะถูกขับเข้าไปใน tubule เพื่อรวมกับ HCO3- ต่อไป
Body Electrolytes
Potassium Imbalance
Hyperkalemia
คือภาวะที่โพแทสเซียมในเลือดมากกว่า 5 มิลลิโมล / ลิตร เกิดจาก การบาดเจ็บต่อไตโดยเฉพาะในกรณีที่ GFR น้อยกว่า 15 ซีซี / นาที /1.73 ตารางเมตรของพื้นที่ผิวกาย, การทำงานของต่อมหมวกไตบกพร่อง, การพร่องฮอร์โมนอินซูลิน, rhabdomyoysis, burns และการบาดเจ็บด้วยอุบัติเหตุอย่างรุนแรงมักเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤติรวมถึงยา การรักษาภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูงขึ้นกับความรุนแรงและผลกระทบต่อการทํางานของหัวใจถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
หายใจลำบาก
คลื่นไส้และอาเจียน
เหนื่อยล้าและความอ่อนแอ
เจ็บหน้าอก
Frank muscle paralysis
Paresthesias
ใจสั่น
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Absent or depressed tendon reflexes.
ระดับความรุนแรงของโปแตสเซียมในเลือด ต่ำ สูง เล็กน้อย 3.4-3.3 5.3-6 ปานกลาง 3.4-3.3 5.3-6 มาก < 3 > 6.8
Calcium Imbalance
Hypercalcemia
ความเข้มข้นของแคลเซียมในพลาสม่ามากกว่า 10.5 มก.%
สาเหตุ
การละลายแคลเซียมจากกระดูกเพิ่มขึ้น พบใน
Hyperparathyroidism
Hyperthyroidism
พิษจากวิตามินดี
Multiple myeloma
มะเร็งที่แพร่กระจายไปกระดูก
การไม่ขยับเขยื้อนร่างกายนานๆ
การรับประทานหรือมีการดูดซึมแคลเซียมมากเกินไป พบใน
กลุ่มอาการ milk alkali
พิษจากวิตามินดี
Sarcoidosis
Idiopathic infantile hypercalcemia
ภาวะไตวาย
ระยะปัสสาวะมากในภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะไตวายเรื้อรังซึ่งได้รับยาอะลูมิเนียมฮัยดรอกไซด์
ได้รับการเปลี่ยนไต
Hypocalcemia
สาเหตุ
ภาวะไตล้มเหลวทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง, การติดเชื้อในกระแสเลือดซึ่งเชื่อว่าอาจจะเป็นกลไกของร่างกายที่จะปกป้องการบาดเจ็บของเซลล์ในภาวะที่มีการอักเสบ, hypoparathyroidism, แมกนีเซียมในเลือดต่ำ
อาการ
กรณีที่มีแคลเซียมในเลือดต่ำอย่างรุนแรง ได้แก่ tetany และชักในส่วนของภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำเรื้อรังนั้นอาจมีอาการผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจได้ผู้ป่วยอาจมี basal ganglia calcification ที่แสดงอาการทางด้าน extrapyramidal อาการแสดงทางผิวหนัง ได้แก่ ผื่นผิวหนังอักเสบ eczema หรืออาจมีผมร่วงตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะพบ prolonged QT interval ในกรณีที่รุนแรงจะมีภาวะ ventricular arrhythmias จนถึงมีภาวะหัวใจล้มเหลวได้นอกจากนี้ยังอาจทำให้การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
Phosphate Imbalance
Hyperphosphatemia
ภาวะนี้เกิดเมื่อวัดระดับฟอสเฟตในซีรัมได้มากกว่า 5 มก./ดล สาเหตุจากการได้รับอาหารที่มีฟอสเฟตมากการปล่อยฟอสเฟตจากเซลล์และการขับถ่ายทางโตน้อยลง
สาเหตุที่ไตลดการขับฟอสเฟต
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุมี rhabdomyolysis หรือในผู้ติดเฮโรอีน
ภาวะไตวายเรื้อรัง
ระดับฟอสฟอรัสสูงในเลือด เมื่ออัตราการกรองผ่านโกลเมอรูลัสลดลงเหลือน้อยกว่า 25 มก/นาที
Hypoparathyroidism
4.Pseudohypoparathyroidism
สาเหตุที่ไตลดการขับฟอสเฟต 1. ภาวะไตวายเฉียบพลัน – ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุมี rhabdomyolysis หรือในผู้ติดเฮโรอื่น 2. ภาวะไตวายเรื้อรัง-ระดับฟอสฟอรัสสูงในเลือดเมื่ออัตราการกรองผ่านโกลเมอรูลัสลดลงเหลือน้อยกว่า 25 มก / นาที 3. Hypoparathyroidism Pseudohypoparathyroidism 4.
Hypophosphatemia
ระดับซีรัมฟอสเฟตที่น้อยกว่า 2.5 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ในผู้ป่วยวิกฤติสาเหตุหลัก ๆ มาจากการได้รับฟอสเฟตหรือลำไส้ดูดซึมฟอสเฟสได้น้อยกว่าปกติการที่ฟอสเฟตมีการเคลื่อนย้ายเข้าสู่เซลล์และมีการสูญเสียออกไปในเดินปัสสาวะ
อาการ
มีอาการที่หลากหลายออกไปเนื่องจากฟอสเฟตเกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างพลังงานในเซลล์ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเดินเซสับสนชักซึมการหายใจล้มเหลวกล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติจนถึงภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ตลอดจนการทำงานของเม็ดเลือดแดงเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดผิดปกติได้
Sodium Imbalance
Hypernatremia
รักษาสาเหตุถ้าเกิดจากการขาดน้ำโดยให้น้ำดื่มหรือ IVF เช่น 5% D/W, 5% D/n /2
ลดปริมาณเกลือโซเดียมจากจำกัดอาหารที่มีโซเดียมสูงเร่งการขับโซเดียมออกด้วยยาขับปัสสาวะเพิ่มปริมาณโซเดียมไปผ่านการกรองของไตด้วยยากระตุ้นการไหลเวียนเลือด
ค่าปกติ 135-145 มิลลิโมล / ลิตร Hypernatremia คือระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 150 มิลลิโมล / ลิตร โดยทั่วไปในคนปกติจะพบภาวะนี้ได้น้อย ผู้ป่วยวิกฤติมีโอกาสสูงที่จะเกิดภาวะโซเดียมสูงในเลือดเนื่องจากมีปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น การให้ sodium bicarbonate เพื่อแก้ไขภาวะเลือดเป็นกรด, การสูญเสีย free water ทางปัสสาวะมากขึ้น
ค่าออสโมลาลิตีในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้น้ำในส่วน intracellular compartment เคลื่อนเข้าสู่ extracelular compartment ส่งผลให้ปริมาตรของเซลล์ลดลงโดยเฉพาะในระบบประสาทส่วนกลางผู้ป่วยจะมีอาการทางระบบประสาทเช่นสับสนซึมชักตรวจร่างกายจะพบผิวหนังตึงๆหยุ่น ๆ คล้ายก้อนแป้ง (doughy skin)
ยา,อาหาร
Osmotic diuretics
โรคเบาจืด (Diabetes insipidus)
การสูญเสียน้ำมากเกินไป
Low H20 intake
Hyponatremia
คือระดับซีรัมโซเดียมน้อยกว่า 135 มิลลิโมล / ลิตรนับว่าเป็นความผิดปกติของอิเล็กโทรไลต์ที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่พักรักษาในโรงพยาบาล
สาเหตุ
เกิดจากความสามารถในการขับสารน้ำ (free water) ของไตนั้นผิดปกติไปหรือทำได้ไม่พอเพียง
เกิดจากการสูญเสียโซเดียม
รักษาสาเหตุ - สุญเสียโซเดียมจาก Diuretic, GI loss เป็นต้น -ได้รับน้ำมากเกินไป - SSDHA - ได้รับยาที่มีผลต่อไตในการขับนปัสสาวะ เช่น ยาต้านมะเร็งยาเบาหวาน เป็นต้น 2. ทดแทนโซเดียมที่ขาดโดยการรับประทานหรือ IVF ด้วย NSS หรือ 3-5% Saline
อาการ
สมองบวมน้ำ (hyponatremic encephalopathy) เช่นปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียน, ซึมลง, หมดสติ, ตรวจพบความไวของ deep tendon reflexes ลดลง, ชัก, เสียชีวิตได้จากภาวะ brain herniation หรือมีอาการทางกล้ามเนื้อเช่นตะคริวตรวจร่างกายพบความไวของ deep tendon reflexes ลดลง
หน้าที่ของอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย
Electrolytes กระจายตัวได้ดีในส่วนต่างๆ ของร่างกาย - Electrolytes in the medium/compartments produce osmotic pressure. - แรงดันออสโมติกนี้ช่วยรักษาสมดุลของน้ำ
Na+ : Most abundant electrolyte in the ECF.
K+ : Essential for normal membrane excitability for nerve impulse
Cl- : Regulates osmotic pressure and assists in regulating acid-base balance
Ca2+: Promotes nerve impulse and muscle contraction/relaxation
Mg2+ : Plays role in carbohydrate and protein metabolism, storage and use of intracellular transmission. Important in the functioning of the heart, nerves, and energy and neural muscles
Distribution Of Body Electrolytes In ECF and ICF
INTRACELLULAR Electrolytes (ICF)
POTASSIUM
PHOSPHOROUS
Body Electrolytes
สมดุลของกรด-ด่าง
สมดุลของน้ำ