Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ (The Muscular system), A6480058 นางสาวอารียา บังทอง …
ระบบกล้ามเนื้อ
(The Muscular system)
กล้ามเนื้อเรียบ
(Smooth muscle)
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
SR เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
ไม่มี T-tubule และไม่พบ Triad
ไม่มีลายให้เห็น
Nuclear อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย (spindle)
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
มีเส้นใยประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์ เช่น อะเซทิลโคลีนและนอร์อิพิเนฟริน
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
แหล่งที่พบ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบสืบพันธ์
ผนังของอวัยวะของระบบไหลเวียนเลือด
กล้ามเนื้อขนตา
ม่านตาที่ผิวหนังและตามท่อของต่อมต่างๆ
กล้ามเนื้อหัวใจ
(Cardiac muscle)
ลักษณะ
• Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
• มี T - tubule ใหญ่กว่า และ SR ไม่มีการพัฒนาเป็นกระเปาะ
• การทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (Pacemaker และ Syncytium)
• ไม่พบ Triad-
• มีแถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลายแต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
ส่วนประกอบของกล้ามเนื้อหัวใจ
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์
(Action potential)
• ทำหน้าที่ผลิศักย์ทำงาน(Action potential)ได้เอง และส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
มี 2 ชนิด
• ปุ่มเอสเอ
• ปุ่มเอวี
3.กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ
(Specialized conduction cell)
• มีหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนต่างๆของหัวใจ
-ได้แก่ bundle of His และ Punkinje fiber
เซลล์ทำหน้าที่หดตัว
(Contractile cell)
• ได้แก่ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัว พบได้ที่ผนังหัวใจทั้ง 4ห้อง
เส้นประสาท
• เส้นประสาทที่มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจคือ ประสาทอัตโนมัติทั้งประสาทซิมพาเธติคและพาราซิมพาเธติค
กล้ามเนื้อลาย(Skeletal muscle)
การเรียกชื่อกล้ามเนื้อ
1.ตำแหน่งที่ตั้ง(Location) เช่น Temporalis,Intercostal,
Tibialis anterior
2.การจัดเรียงตัวของใยกล้ามเนื้อ(Fascicle Organization)
เช่น กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตรง มักตั้งชื่อว่า rectus
3.ตามรูปร่าง
-Deltoid (triangle)
ตามขนาด
-Maximus,Minimus
4.จำนวนจุดเกาะต้น (Origin or head) เช่น กล้ามเนื้อ biceps มีจำนวน 2 หัว กล้ามเนื้อ triceps มีจำนวน 3 หัว และกล้ามเนื้อ quadriceps มีจำนวน 4 หัว
5.หน้าที่การทำงาน(Function) เช่น flexor,extensor,abductor
6.ตามตำแหน่งความสัมพันธ์ (Relative Position ) เช่น กล้ามเนื้อที่อยู่ภายนอก หรือ อยํ่บริเวณผิว มักมีคำว่า externus หรือ superficialis ส่วนกล้ามเนื้อที่อยู่ลึก มักมีคำว่า internus หรือ profundus
7.ตามจุดเกาะต้นหรือจุดเกาะปลาย (Origin and insertion)ชื่อหน้ามักบอกถึงตำแหน่งจุดเกาะต้น และชื่อหลังมักจะบอกถึงตำแหน่งจุดเกาะปลาย เช่น Sternocleidomastoid
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
1.กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า
(Muscles of facial expression)
กล้ามเนื้อของหนังศรีษะ
• Frontalis
Action: ยักคิ้ว หน้าผากย่น
• Occipitalis
Action: ดึงหนังศรีษะไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
• Corrugator supercilii
Action: ขมวดคิ้ว
• Orbicularis Oculi
Action: หลับตา กระพริบตา หยีตา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
• Nasalis
ประกอบด้วย 2 ส่วน
transverse part หรือ compressor nalis
Action: ทำให้รูจมูกแคบลง
alar part หรือ dilator nalis
Action: ทำให้รูจมูกกว้างขึ้น
กล้ามเนื้อรอบปาก
• Orbicularis Oris
Action: เม้มริมฝีปาก หรือหุบปาก
• Levator labii superioris
Action: ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปาก และทำให้รูจมูกผายออก
• Zygomaticus
Actoin: ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
• Risorius
Action: ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
• Levator Anguilla oris
Action: ยกมุมปากขึ้นให้เห็นฟันขณะยิ้ม
• Depressor labii inferioris
Action: ดึงริมฝีปากล่างลง
• Depressor anguli oris
Action: ดึงมุมปากลงมาด้านล่าง
• Mentalis
Action: ทำคางย่น
• Buccinator
Action: ช่วยในการดูด การเคี้ยวอาหาร การกลืน ผิวปาก
กล้ามเนื้อคอ
•Platysma
Action: ดึงคางลงและริมฝีปากล่างลงมา
2.กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว
(muscles of mastication)
• Temporalis
Action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้มุมปาก และถอยไปข้างหลัง
• Masserter
Action: ยกขากรรไกรล่างขึ้น
• Medial pterygoid
Action: ยกกระดูก mandible ขึ้น และทำให้มีการเคลื่อนกระดูก mandible ออกไปด้านข้าง
• Lateral pterygoid
Action: ยื่นกระดูก mandible มาทางด้านหน้าและไปด้านข้าง
กล้ามเนื้อลูกตา
(muscles of the eyeball)
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวลิ้น (muscles the move the tongue)
5.กล้ามเนื้อที่พื้นที่ของช่องปาก
(muscleof the floor of the oral cavity)
Action: ยกกล่องเสียงกระดูก hyoid ขึ้นขณะกลืนอาหารหรือดึงขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
6.กล้ามเนื้อกล่องเสียง
(muscle of the larynx)
Action:
-ดึงกล่องเสียงขึ้นขณะกลืนอาหาร
-ช่วยในการพูด
-ช่วยเปิด ปิดกล่องเสียงขณะพูด
8.กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศรีษะและคอ (muscle moving the head and neck)
• Sternocleidomastoid
Action: หดตัวพร้อมกัน 2 ข้างจะก้มศรีษะ หดตัวข้างเดียวช่วยในการหมุนศรีษะไปด้านตรงข้าม
• Splenius capitis, Semispinalis capittis, Cervicis and spinalis , Longissimus Capitis
Action: กล้ามเนื้อทั้ง 3 มัดข้างต้น เมื่อกล้ามเนื้อทั้งสองข้างทำงานพร้อมกัน จะทำให้เกิดการเงยศรีษะและคอ ถ้าหดตัวข้างเดียวศรีษะจะหมุนไปด้านเดียวกับกล้ามเนื้อหดตัว
• Scalenes
Action: ก้มและหมุนคอ ยกกระดูกซี่โครงอันที่ 1-2 ขึ้นในขณะหายใจเข้า
• Levator scapulae
Action: ยกกระดูก scapular ขึ้นและหันคอไปด้านข้าง
• Longus Colli
Action: ก้มศรีษะไปทางด้านข้าง
9.กล้ามเนื้อช่วงไหล่
(muscles of the shoulder girdle)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกายมีจุดเกาะปลายที่กระดูก Clavicle และ scapular ได้แก่
• Levator Scapulae
Action: ยกกระดูก scapula
• Subclavius
Action: ดึงกระดูก Clavicle ลงล่าง
• Serratus Anterior
Action: ดึงกระดูก scapula ให้แนบลำตัวและช่วยในการหายใจ
• Pectoralis Minor
Action: ดึงกระดูก scapular มาด้านหน้า ถ้าตรึงกระดูก scapula ให้อยู่กับที่จะทำหน้าที่ในการยกกระดูกซี่โครงอันที่ 3-5 ช่วยในการหายใจเข้าแรงๆ
• Trapezius
Action: ยกไหล่และหมุนกระดูก scapula ขึ้นเวลากางแขน
• Rhomboid Major
Action: ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
• Rhomboid Minor
Action: ดึงกระดูก scapula เข้าหาแนวกลางลำตัว
2.กลุ่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกายหรือกระดูก scapula มีจุดเกาะปลายที่กระดูก humerus ได้แก่
• Pectoralis major
Action: หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
• Subscapularis
Action: หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
• Latissimus Dorsi
Action: ดึงต้นแขนเข้าหาลำตัวไปด้านหลัง
• Deltoid
Function: กางแขน
• Infraspinatus
Function: หน้าบและหมุนต้นแขนออกด้านนอก
• Supraspinatus
Function: ช่วย deltoid ในการกางแขน
• Teres major
Function: หุบและหมุนต้นแขนเข้าด้านใน
• Teres minor
Function: หมุนต้นแขนออกด้านนอก
7.กล้ามเนื้อบริเวณคอ
(muscles of the neck)
กล้ามเนื้อของต้นแขน(musles of the arm)
•Biceps Brachii
Action: งอต้นแขนและหงายปลายแขน
•Brachialis
Action: งอต้นแขน
•Coracobrachialis
Action:งอต้นแขนและหุบต้นแขน
•Triceps Brachii
Action:เหยียดปลายแขน i
11.กล้ามเนื้อปลายแขน(muscle of the forarm)
กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน
1.1กลุ่มที่อยู่ตื้น
•Pro actor teres
Action:คว่ำมือและงอต้นแขน
•Flexor carpi radialis
Action:งอข้อมือ
•Flexor carpi ulnaris
Action:งอข้อมือ
•Palmaris longus
Action:งอข้อมือ
•Flexor digitorum superficialis
Action:งอproximal interphalangeal ของนิ้วที่ 2-5
1.2กลุ่มที่อยู่ลึก
•Pronator quadratus
Action:คว่ำปลายแขน
•Flexor digitorum profundus
Action:งอข้อต่อdistal interphalangeal ของนิ้วที่ 2-5
•Flexor policies longus
Action:งอข้อต่อ distal interphalangeal ของนิ้วที่ 1-5
กลุ่มที่อยู่ด้านหลังปลายแขน
1.1กลุ่มที่อยู่ตื้น
•Anconeus
Action:ช่วยกล้ามเนื้อ triceps BrachiiAction ในการเหยียดต้นแขน
•Brachioradialis
Action:งอปลายแขน
•Extensor carpi radial is longus
Action: เหยียดข้อมือและกางแขน
•Extensor carpi radial is brevis
Action: เหยียดแขนท่อนล่างและกางข้อมือ
•Extensor digitorum
Action เหยียดข้อมือและนิ้วมือ
•Extensor digiti minimi
Action: เหยียดนิ้วที่ 5 และข้อมือ
•Extensor carpi ulnaris
Action: เหยียดและหุบมือ
1.2 กลุ่มที่อยู่ลึก
•Supinator
Action:หงายฝ่ามือ
•Abductor pollicis longus
Action:กางนิ้วแม่มือ
•Extensor indicis
Action:เหยียดนิ้วชี้ และข้อมือ
•Extensor pollicis longus
Action:เหยียดนิ้วหัวแม่มือและเหยียดและกางมือ
•Extensor pollicis brevis
Action:เหยียดนิ้วมือและเหยียดและกางมือ
12.กล้ามเนื้อขอมือ(muscles of hand)
กล้ามเนื้อบริเวณด้านหัวแม่มือ(Thenar muscle)
•Abductor pollicis brevis
Action: กางนิ้วหัวแม่มือ
•Flexor pollicis brevis
Action:งอนิ้วหัวแม่มือ
•Opponeus pollicis
Action:โอบนิ้วหัวแม่มือเข้าหาฝ่ามือและนิ้วอื่นๆ
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย(Hypothener muscle)
•Abductor digiti minimi
Action:กางนิ้วก้อย
•Flexor digiti minimiAction brevis (hand)
Action:Flexes the carometecarpal and metacarpophalangeal joints of the 5h digit
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโป้งและด้านนิ้วก้อย
•Lumbricals
Action: งอข้อต่อ metacarpophalangeal และ เหยียดข้อต่อ interphalangeal joint
•Adductor pollicis
Action: Adductt หัวแม่มือ
•Plamar interosseous
Action:งอนิ้วที่ข้อต่อ meta phalangeal joint
•Dorsal interosseous
Action:กางนิ้วที่ข้อต่อ metaphalageal joint
13.กล้ามเนื้อหลัง(Back muscle)
1.Splenius muscle
2.Eerector spinae
-iliocostalis lumborum
-longissimus thoracis
3.Transversospinal muscle
4.Segmental muscle
14.กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
(muscles of respiration)
•Diaphragm
Action:ในขณะหายใจเข้า จะมีการหดตัวและลดลง ทำให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น
•External Intercostal
Action: ยกกระดูกซี่โครงและเพิ่มปริมาตรช่องอกขณะหายใจออก
•Internal lnter costal
Action: พยุงกระดูกซี่โครงแต่ละชิ้นไม่ให้แยกออกจากกันในขณะผ่อนลมหายใจ
15.กล้ามเนื้อของผนังหน้าท้อง
(muscles of the abdominal wall)u
•Rectus Abdominus
Action:งอลำตัวและกดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่มความดันในช่องคลอด
•Enternal Oblique
Action:แนวกึ่งกลางลำตัวบริเวณ linea Alba กระดูกpubicและกระดูกilium
•Internal Oblique
Action:กดผนังหน้าท้อง เพื่อเพิ่มความดันภายในช่องท้อง
•Transverse Abdominis
Action:กดผนังหน้าท้องและช่วยประคับประคองอวัยวะภายในช่องท้อง
• Quadratus lumborum
Action:งอกระดูกสันหลังระดับเอวไปด้านข้าง
•Psoas major
Action:งอต้นขา
•lliacus
Action:งอลำตัวและต้นขา
16.กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน
(muscle of the plevis)
17.กล้ามเนื้อของต้นขา(muscles of the thigh)
18.กล้ามเนื้อของปลายขา(muscles of the leg)
19.กล้ามเนื้อของเท้า(muscles of the foot)
A6480058 นางสาวอารียา บังทอง
นักศึกษาชั้นปีที่ 1