Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormal powers - Coggle Diagram
Abnormal powers
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
Uterine dysfunction
Hypertonic uterine dysfunction
หดรัดตัวแรง บ่อย ไม่สม่ำเสมอ และไม่สัมพันธ์
1.Incoordinated uterine contraction มดลูกแต่ละส่วนหดรัดตัวไม่ประสานกัน ถี่ ไม่สม่ำเสมอ ขณะคลายตัวมีความตึงตัวมากกว่าปกติ
การวินิจฉัย
-กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวแรง ส่วนกลางมากกว่าส่วนล่าง
-แรงดันเฉลี่ย > 60 mmHg.
-ในระยะพักมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
-ผู้คลอดเจ็บครรภ์ตลอดเวลา
-ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด
แนวทางการดูแลรักษา
1.ถ้ามีภาวะ CPD ให้ C/S
-ถ้าไม่มีภาวะ CPD
:ให้ยาระงับปวด ให้พักได้
:ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
:ถ้าการหดรัดตัวกลับมาเป็นปกติ อาจคลอดทางช่องคลอดได้
:ถ้ายังหดรัดตัวผิดปกติ และผู้คลอดพักไม่ได้ หรือทารกอยู่ในภาวะขับขัน อาจต้อง C/S
2.Tetanic contraction มดลูกหดรัดตัวไม่คลายตัว
สาเหตุ
1.จากการคลอดติดขัด(obstructed labor) มดลุกหดรัดตัวบ่อย แรงเพื่อผลักดันให้ส่วนนำเคลื่อนต่ำ แต่ส่วนนำไม่เคลื่อนลงมาได้ทำให้มดลูกส่วนล่างถูกดึงรั้งให้บางลง อาจทำให้เกิด Bandl's ring และมดลุกเเตกได้
2.Non-obstructed labor การได้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลุกมากเกินหรือเร็วเกินทำให้มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา หรือรกลอกตัวก่อนกำหนดทำให้มดลูกหดรัดตัวแรง ถี่เพื่อไล่เลือดที่อยู่ด้านหลังรถออก
การวินิจฉัย
-ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
-มดลุกหดรัดตัวนาน>90 วินาที
-interval <2 นาที
-ไม่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (มีการคลอดติดขัด)
แนวทางการรักษา
จากการคลอดติดขัด
1.ถ้าทารกยังมีชีวิต ให้ C/S
2.ถ้าทารกเสียชีวิต ให้ใช้หัตถการทำลายทารก
จากการกระตุ้นมดลูกหดรัดตัว
1.ลดขนาดยา
2.หยุดให้ยา
3.ให้ยาคลายการหดรัดตัวของมดลูก
จากรกลอกตัวก่อนกำหนด
1.ถ้าทารกยังมีชีวิต ให้ C/S
2.ถ้าทารกเสียชีวิตให้คลอดทางช่องคลอด
การพยาบาล
-ประเมินสาเหตุ
-หากได้รับยากรุตุ้นอยู่ หยุดยา ให้นอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจน 4 ลิตร/นาที nasal cannula และรายงานแแพทย์
-ประเมิน อาการและอาการแสดงของภาวะมดลุกแตก bandl's ring ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด: Bleed per vigina,BP ต่ำ ,P เบาเร็ว
3.Constriction ring มดลุกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
การวินิจฉัย
เกิดในระยะที่ทารกยังไม่คลอด
-มดลุกหดรัดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ มีระยะคลายตัว
-ผู้คลอดจะเจ็บปวดมาก
-ตรวจหน้าท้องไม่พบวงแหวนที่รอยต่อของมดลูกส่วนบนกับส่วนล่าง
-ตรวจภายในจะพบบผนังมดลูกเป็นวงดึงรัดรอบคอทารก
เกิดในระยะรกคลอด
-หลังจากทารกคลอดเป็นเวลานานแล้วรกยังไม่คลอด
แนวทางการดูแลรักษา
เกิดในระยะรอคลอด
-ให้ยาบรรเทาปวด วงแหวนคลายตัว
-ถ้าวงแหวนไม่คลายตัวและทารกขาดออกซิเจน ให้ C/S
เกิดในระยะคลอด
-ให้ยาสลบทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
-ทำคลอดทารกโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
เกิดในระยะรกคลอดและเลือดออกมาก
-ดมยาสลบและล้วงรก
การพยาบาล
-หากได้รับยากระตุ้นอยู่ให้หยุดยา
-แพทย์พิจารณาให้ยาระงับความเจ็บปวด ดูแลประเมินการหดรัดตัวอย่างใกล้ชิด
-หาก Cx.Fully dilate เตรียมหัตถการ
-ถ้ามีมดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนในระยะรกคลอด เตรียมพร้อมสำหรับล้วงรก
Hypotonic uterine dysfuction
สาเหตุ
-50% Idiopathic ไม่ทราบสาเหตุ
-มดลูกยึดขยายมากกว่าปกติ
-ส่วนนำของทารกไม่กระชับกับปากมดลูก
-ได้รับยาระงับปวดมาก/ได้ในเวลาไม่เหมาะสม
-กระเพาะปัสสาวะเต็ม
-ติดเชื้อในโพรงมดลูกและน้ำคร่ำ
-Exhaustion,dehydration
-เครียด กลัวและวิตกกังวลสูง
การวินิจฉัย
-ประเมินเมื่อปากมดลูกมีการบางตัวและเปิดอย่างน้อย 4 cm.
-Ut.Contraction<3 ครั้งใน 10 นาที (interval >3 min)
-Duration<40 seconds,mild to moderate intensity
-ปากมดลูกเปิดช้า/ไม่เปิดเพิ่ม
-ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ/เคลื่อนต่ำช้า
-อาจพบร่วมกับ : เชิงกรานมารดาแคบ หรือทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
แนวทางการดูแลรักษา
1.แก้ไขสาเหตุที่เกิดจากมารดา
:ดูแลให้พักผ่อนและให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
:ดูแลให้กระเพาปัสสาวะว่าง
:ให้ยาระงับปวดในขนาดที่เหมาะสม
:ให้กำลังใจและปลอบใจ
2.ประเมินว่ามีภาวะ CPD หรือไม่ ถ้ามีต้อง C/S
3.ถ้าไม่มี CPD และส่วนนำเคลื่อนต่ำ ให้ ARM กระตุ้นมดลูกหดรัดตัว
4.ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
5.ถ้าแก้ไขแล้วยังไม่เป็นปกติ ให้ C/S
การพยาบาล
ยังไม่เข้า Active phase และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
1.อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม
2.กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนศีรษะสูง Ferguson reflex
3.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
4.ดูแลให้พักผ่อน
5.ดูแลให้รับประทานอาหาร และดื่มน้ำ
6.ประเมิน Ut.Contraction
เข้า Active phase แล้ว และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
1.อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม
2.กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนท่าศีรษะสูง Ferguson reflex
3.ดุแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
4.ดูแลให้ได้รับการทำ ARM (ถ้าไม่มีข้อห้าม)
5.หลังทำ ARM ประเมิน Ut.contraction
ุ6.ดูแลให้ได้รับยากกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนและสังเกต side effect ของยา
7.แนะนำวิธีการเบาเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
8.ถ้าเจ็บมากพักไม่ได้ ดุแลให้ได้รับยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
9.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 2 ชั่วโมง
:ครรภ์แรก ถ้าปากมดลูกไม่เปิดเพิ่ม หรือเปิด <1.2 cm/hr.รายงานแพทย์
:ครรภืหลัง ถ้าเปิด <1.5 cm./hr. หรือส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ รายงานแพทย์
10.ประเมิน FHR ทุก 30-60 นาที หรือ on fetal monitoring
11.ดูแลความสะอาดของร่างกาย ใส่ผ้าซับน้ำคร่ำเพื่อป้อวกันการติดเชื้อ
12.ประเมิน V/S
13.เตรียมพร้อมสำหรับทำสูติศาสตร์หัตถการ (FE,VE,C/S)
14.หลังคลอดระวังการตกเลือดหลังคลอด
:ประเมินการหดรัดตัวของมดลุกและคลึงมดลูก
:ประเมิน bleeding per vagina
:ดูแลกระเพาะปัสสาวะ
:ดูแลให้ได้รับยากระตุุ้นการหดรรัดตัวของมดลูก
แรงเบ่งผิดปกติ
Ineffective maternal bearing down effort
สาเหตุ
1.ผู้คลอดเบ่งไม่ถูกต้อง
2.ผู้คลอดดิ้นไปดิ้นมา ควบคุมตนเองไม่ได้
3.ได้รับยาบรรเทาปวดมากเกินไป
4.ได้รับยาชาทางไขสันหลังมากเกินไป
5.หมดสติ ไม่รู้สึกตัว เป็นอัมพาต
6.เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ
7.มีพยาธิสภาพหรือโรคที่เบ่งไม่ได้ เช่น โรคหัวใจ,HT,Anemia,เกร็ดเลือดต่ำ
การวินิจฉัย
1.เบ่งสั้นเกินไป เบ่งนานเกินไป เบ่งมีเสียง เบ่งหน้าแดง
2.ท่าในการเบ่งไม่เหมาะสม
3.มีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
4.ขณะเบ่งปากช่องคลอดไม่มีการบานหรือขยาย
5.ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
แนวการดูแลรักษา
1.สอนเบ่งให้ถูกต้อง
-เบ่งขณะมดลูกหดรัดตัว
-ก่อนเบ่งหายใจเข้า-ออก ลุึกๆยาวๆ (Cleansing breath) 1-2 ครั้ง
-สูดหายใจเข้าเต็มที่ คางชิดหน้าอก ลำตัวงอเป็นรูปตัว C
-ปิดปาก เบ่งลงช่องคลอด
-เบ่งไม่ควรนานเกิน 6-8 วินาที (ทำซ้ำจนกว่ามดลูกจะคลายตัว)
2.ถ้าผูคลอดหมดแรง เหนื่อยหรือทารกขาดออกซิเจน ให้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด ให้ IV fluid
การพยา่บาล
1.ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมดไม่ควรเบ่งและแนะนำวิธีการลดลมเบ่ง
2.ถ้าปากมดลูกเปิดหมดแต่ส่วนนำยังไม่ถึงพื้นเชิงกราน สามารถรอจนกว่าผู้คลอดจะรู้สึกอยากเบ่ง
3.ถ้าไม่มีข้อห้ามในการเบ่ง สอนเบ่งอย่างถูกวิธี
4.จัดท่าในการเบ่งคลอดอย่างเหมาะสม
5.ถ้าได้รับยาระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง กระตุ้นให้เบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว หยุดเบ่งเมื่อมดลูกคลายตัว
6.ชมเชย ให้กำลังใจ บอกความก้าวหน้าของการคลอด
7.เช็ดหน้า เช็ดตัว และให้พักขณะมดลูกคลายตัว ให้ IV และออกซิเจน
8.ประเมิน Ut.contraction ถ้าปิดปกติรายงานแพทย์
9.ประเมิน FHS ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์