Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการเรียนรู้, นายวุฒิ ชะนา 320 - Coggle Diagram
จิตวิทยาการเรียนรู้
องค์ประกอบของการเรียนรู้
Drive แรงขับ
Stimulus สิ่งเร้า
Response การตอบสนอง
การเสริมแรง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ Ivan Pavlov
กฎการลบพฤติกรรม
กฎแห่งการคืนกลับ
กฎความคล้ายคลึงกัน
กฎการจำแนก
ทฤษฏีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ John Watson
ทฤษฏีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ B.F. Skinner
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นอยุ่กับการเสริมแรงหรือลงโทษ
ช่วงแรกควรเสริมแรงทุกครั้ง แต่หลังจากนั้นต้องค่อยๆปรับความถี่หรือเวลา ให้มีช่วงห่างที่เหมาะสมมากขึ้น
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ Edward Thorndike
Law of Effect
Law of Exercise
Law of Readiness
Introduction
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ประสบการณ์ตรงคือประสบการณ์ที่บุคคลได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเอง
ประสบการณ์ทางอ้อมคือประสบการณ์ที่ผู้เรียนไม่ได้ประสบด้วยตัวเองโดยตรง
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญา ของ Jean Piaget
จัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมให้เหมาะกับการเรียนรู้แต่ละช่วงวัย
คอยสังเกตและให้ความช่วยเหลือเมื่อเด็กต้องการ
ให้เด็กได้เริ่มเรียนรู้จากสิ่งที่คุ้นเคยก่อนนำเสนอสิ่งใหม่ที่สัมพันธ์กับสิ่งเดิม
ให้เด็กได้รับรู้ภาพรวมก่อนแล้วค่อยแยกสอนทีละส่วน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ
การรับรู้
การหยั่งเห็น
กฎการจัดระเบียบการเรียนรู้
กฎแห่งความแน่นอน
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความใกล้เคียง
กฎแห่งความสมบูรณ์
กฎแห่งความต่อเนื่อง
กฎแห่งความคงที่
ทฤษฎีประมวลผลสารสนเทศ
(Information Processing Theory)
เปรียบเทียบการทำงานของสมองกับคอมพิวเตอร์
Input
Encoding
Output
ประสบการณ์ทำให้เห็นภาพแตกต่างกันออกไป
ทฤษฎีการเรียนรู้สังคม ของอัลเบิร์ต แบนดูรา
พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล เกิดจากตัวบุคคลเอง (Personal Factors: Cognitive, affective & biological events) และ สิ่งแวดล้อม
นายวุฒิ ชะนา 320