Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์และภาวะกรดด่างในร่างกาย, UDA6380017 - Coggle…
สมดุลของน้ำอิเล็คโตรไลท์และภาวะกรดด่างในร่างกาย
การควบคุมสมดุลภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
ค่าปกติ pH ในเลือดแดง ( arterial blood pH ) มีค่าประมาณ 7.4
ในเลือดดำ มีคาร์บอนไดออกไซด์
ภาวะผิดปกติของร่างกาย
Volatile acid
CO2
Fixed acid
Sulfuric acid
phosphoric acid
กรดอินทรีย์
lactic acid , acetoaetic
butyric acid
การวัดความดันเป็นกรด-ด่าง
เลือดแด pH ค่าปกติ 7.35 - 7.45
เลือดดำ ช่องว่างระหว่างเซลล์ pH ค่าประมาณ 7.35
ในเลืแดงมีค่า > 7.45 เรียกว่า alkalosis
ในเลืแดงมีค่า < 7.35 เรียกว่า acidosis
สิ่งที่ควบคุม
Buffer
เป็นสารละลายน้ำ คง pH สารนั้นไว้
ทำปฎิกกรดด่างเกิด เกลือของกรดด่างมีสภาพเป็นกลาง
ระบบหายใจ ปอด
สามารถปรับ pH ใน 1-15 นาที ผลสูงสุดที่ 12-24 ซม.
ควบคุม pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50-75%
ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 -> H+ เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อจำกัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 -> I+ ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
ไต
ขับกรดที่เกิดจาก metabolism ของร่างกาย โดยเฉพาะ non-volatile acid
กลวิธีการรักษา
การดูดซึมกลับ bicarbonate
การขับ H+ รวมกับ HPO4 เป็น H2PO4
การขับ H+ โดยสร้างเกลือแอมโมเนีย
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
Primary metabolic acidosis
เสีย bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
Primary metabolic alkalosis
มีการสะสม bicarbonate ในร่างกาย เกิดการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
Primary respiratory acidosis
ลดการหายใจ CO2 สูงขึ้น pH ลดลง
Primary respiratory alkalosis
เพิ่มการหายใจ CO2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น
ผลของ pH ที่มีต่อค่า K+ และ Ca++ ในร่างกาย
pH ค่าปกติ 7.35-7.45 บอกความเข้มข้นของ H+
PCO2 ค่าปกติ 35-45 mm.Hg. วัดแรงดันของ CO2 บอกถึงความเข้มข้นของ carbonic acid ( H2 CO3 )ในเลือด
HCO3- ค่าปกติ 22-26 mEq/L ความเข้มข้นของ bicarbonate ( HCO3- )
การแปลค่า Arterial Blood Gas
ดูค่า pH < 7.35 = acidosis,pH > 7.45 = alkalosis
PaCO2 > 45 mmHg = acidosis, PaCO2 < 35 mmHg = alkalosis
HCO3- > 26 = alkalosis , HCO3- < 22 = acidosis
น้ำและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
ความไม่สมดุลของน้ำ
หน้าที่ของน้ำในร่างกาย
ควบคุมีอุณหภูมิร่างกาย
ช่วยดูดซึมและแพร่การจายของสารต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆไปยังระบบที่เหมาะสม
ใช้ในปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญในร่างกาย
การสลาย ATP
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารนั้นๆ
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
อาศัยการควบคุม 2 ทาง
การกระหายน้ำ
ควบคุมโดยปริมาณน้ำและความเข้มข้นของพลาสมา
การขับปัสสาวะ
กลไกควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาคงที่
กลไกควบคุมปริมาณน้ำ
การกรองที่ไต
aldosterone
ADH
ภาวะขาดน้ำ
ร่างการสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ
สาเหตุ
ได้รัน้ำน้อยลง ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
เปลี่ยนแปลงที่ระดับเซลล์
การตอบสนองของร่างกาย
อาการขาดน้ำ
ขาดน้ำรุนแรงน้อยถึงปานกลาง
ขาดน้ำรุนแรง
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
การคั่งของทั้งเกลือและน้ำ
การคั่งของน้ำอย่างเดียว
การคั่งน้ำมากกว่าเกลือ
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ไตปกติมีการหลั่งADH มากขึ้น
ความผิดปกติของน้ำและอิเล็คโตรไลท์
การควบคุมภาวะสมดุลกรดด่าง
Body Electrolytes
Substance when dissolved in solution
dissociates into ions
These ions are able to carry an electrical current
อิเล็กโทรไลต์
สารที่พัฒนาขึ้นไฟฟ้าชาร์จเมื่อละลายในน้ำ
ในร่างกาย
เกลือ Nacl และ KCI แยกออกจากกัน
ประจุไอออน Na+ และ CI- เรียกว่าอิเล็กโทรไลด์
ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์ คือ mEq/L
Functions of Body Electrolytes
Electrolytes are well distributed in the body compartments
produce osmotic pressure
helps in maintaining water balance
Electrolytes
Na+
K+
CI-
Ca2+
Mg2+
Hyponatremia
ระดัซีรัมโซเดียมน้อยกว่า 135 มิลลิโมล/ลิตร
ผลรักษาที่ไม่ดี ในผู้ป่วยมีภาวะหัวใจล้มเหลวมีอัตราเสียชีวิตสูงขึ้น
สาเหตุ
เกิดความสามารถในการขับสารน้ำของไตผิดปกติไปหรือทำได้ไม่พอเพียง
เกิดการสูญเสียโซเดียม
อาการ
สมองบวม
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
ซึมลง
หมดสติ
Hypernatremia
ระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 150 มิลลิโมล/ลิตร ค่าปกติ 135-145 มิลติโมง/ลิตร ผู้ป่วยวิกฤติมีโอกาสสูงที่จะเกิดภาวะโซเดียมสูงในเลือด
อาการ ส่งผลให้ปริมาณเซลล์ลดลง โดนเฉพาะระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ป่วยมีอาการทางระบบประสาท
สับสน
ซึม
ชัก
ตรวจร่างกายจะพบผิวหนังตึงๆ หยุ่นๆ คล้ายก้อนแป้ง
Potassium lmbalance
Hyperkalemia
Hypocalcemia
Hypercalcemia
Phosphate lmbalance
Magnesium lmbalance
UDA6380017