Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาทอัตโนมัติ (Drugs acting on Autonomic Nervous System…
ยาออกฤทธิ์ในระบบประสาทอัตโนมัติ (Drugs acting on Autonomic Nervous System )
สารสื่อกระแสประสาทในระบบประสาทอัตโนมัติ
Norepinephrine (NE)
ถูกหลังจากปลายประสาท adrenergic ซึ่่งเป็น postganglionic fibers
ของระบบ sympathetic
กระตุ้น adrenergic receptors
α-adrenergic receptors
β-adrenergic receptors
ยกเว้น β2-receptors
Epinephrine (EP)
ฤทธิ์เป็นฮอร์โมนมากกว่าสารสื่อประสาท
กระตุ้น adrenergic receptors ทุกชนิด
หลั่งจากต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) สู่กระแสเลือด
Nonadrenergic-noncholinergic (NANC)
พบในเซลล์ประสาทที่เรียกว่า NANC neurons
พบมากใน enteric nervous system
ทางเดินปัสสาวะ
หลอดเลือดบางแห่ง
ทางเดินอาหาร
ตัวอย่างสารสื่อประสาท
serotonin (5-hydroxytryptamine)
neuropeptide Y
nitric oxide (NO)
Vasoactive intestinal peptide (VIP)
adenosine triphosphate (ATP)
Cholinergic receptors
Nicotinic receptors (N)
Nm receptorsNm เป็นreceptors ที่บริเวณจุดประสานของเส้นประสาทสั่งการ (voluntary motor nerve)
Nn receptors Nn เป็น nicotinic receptors พบที่บริเวณปมประสาทเป็นส่วนใหญ่
Muscarinic receptors (M)
ตัวรับย่อย ๆ เหล่านี้ ได้แก่ M1
,M2,M3 M4และ M5receptorsตัวรับเหล่านี้อยู่ตาม
เนื้อเยื่อต่าง ๆ
เป็น G-protein-coupled receptors
ทำให้เกิดผล
กระตุ้นเอนไชม์ phospholipase C ให้ย่อย phosphoinositidesทำให้ได้สารสำคัญ 2 ชนิด
inositol triphosphate (IP3
)
diacylglycero! (DAG)
สาร 2 ชนิดนี้มีบทบาทในการควบคุมการ
ทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ที่ระบบประสาทพาราชิมพาเทติกไปเลี้ยง
เป็นตัวรับที่ acetylcholine (ACh) ไปออกฤทธิ์กระตุ้นแล้วทำให้
เกิดผลตอบสนองต่าง ๆ
Dopamine (DA)
ถูกหลั่งจาก postganglionic fibers ของระบบ sympathetic ซึ่งไปยังไต
ทำให้
หลอดเลือดในไตขยาย
พบในหลอดเลือด mesenteric ในทางเดินอาหาร
ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system: SNS)
ส่งผลให้
การใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ระดับน้ำตาลในเลือดและกรดไขมันสูงขึ้น
ยับยั้งการหลั่งน้ำย่อย
ยังยั้งการเคลื่อนไหว การหดตัวของ
กระเพาะและลำไส้
หัวใจเต้นเร็ว
ม่านตาขยาย
หลอดลมขยาย
ท่อน้ำเชื้อในอวัยวะเพศชายหดตัว
มีการขับเหงื่อและขนลุกเกิดขึ้น ในสภาวะตกใจ
กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกทำให้เกิดการหลั่ง adrenaline หรือ epinephrine จากต่อมหมวกไตด้วยทั้งระบบ sympathetic และ parasympathetic
ประกอบด้วย
Lumbar cord
Thoracic cord
หน้าที่
ร่างกายมีการใช้พลังงานมากขึ้น
อวัยวะทำงานมากขึ้น เร็วขึ้น
ความโกรธและความตกใจ
.
สารสื่อประสาทที่สำคัญ
ได้แก่
norepinephrine
epinephrine
การออกฤทธิ์ของ norepinephrine และ epinephrine เกิดจากการกระตุ้น
adrenergic receptors หรือ adrenoceptors
การทำงาน
ตัวรับที่การทำงานต้องอาศัยโปรตีน G
มีอยู่ตามอวัยวะต่าง ๆ ที่
ระบบประสาทซิมพาเทติกไปเลี้ยง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
α-adrenergic receptors มี 2 ชนิด
α1-adrenergic receptors
พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอด
เลือด
เมื่อถูกกระตุ้นทำให้ เอนไซม์phospholipase C ถูกกระตุ้นทำให้เกิดการสลายของ phosphoinositides ได้
diacylglycerol! (DAC) เกิดขึ้นทำให้เกิดการกระตุ้นเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ
inositol triphosphate (IP3) ทำให้ Ca 2+ ถูกปล่อยจากแหล่งที่สะสมไว้ภายในเซลล์ การมีCa2+ เพิ่มขึ้น
α2 -adrenergic receptors
พบที
เนื้อเยื่อต่าง ๆ
เนื้อเยื่อสมอง
ปลายประสาทชิมพาเทติก
การทำงานเมื่อกระตุ้นตัวรับชนิดนี้
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ adenylate cyclase ทำให้ไม่มีสาร cyclic AMP (CAMP) เกิดขึ้น
การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารลดลง
การหลั่งสารสื่อประสาทลดลง
สัญญาณชิมพาเทติกจากสมองลดลง
β-adrenergic receptors มี 3 ชนิด
β2-adrenergic receptors
เมื่อถูกกระตุ้นจะมีผลให้กล้ามเนื้อเรียบบริเวณดังกล่าวเกิดการคลายตัว
พบที่
กล้ามเนื้อลาย
ตับ และบริเวณอื่น ๆ
กล้ามเนื้อเรียบของ
หลอดลมและหลอดเลือด
β3-adrenergic receptors
พบตัวรับชนิดนี้ที่เนื้อเยื่อไขมัน
เมื่อถูกกระตุ้น
ทำให้เกิดการสลายไขมัน
ทำให้เอนไซม์adenylate Cyclase ถูกกระตุ้นทำให้มีระดับของ cAMP สูงขึ้นการที่ระดับของ cAMP สูงขึ้นจะเกิดการกระตุ้นเอนไซม์ protein kinases ชนิดต่าง ๆ ทำให้เกิดผลต่าง ๆ
เกิดการสลายไขมันได้ สารกลีเซอรอลและกรดไขมันอิสระ
อัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจเพิ่มขึ้น
เกิดการสลายไกลโคจนได้กลูโคส
β1-adrenergic receptors
มีตัวรับชนิดนี้ที่กล้ามเนื้อหัวใจ
เมื่อถูกกระตุ้นจะทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น หัวใจบีบตัวแรงขึ้น
ยาออกฤทธิ์กระตุ้น adrenergic receptors และยาออกฤทธิ์เลียนแบบการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก (adrenergic receptors agonists and sympathomimetic drugs)
การจำแนกประเภทกลุ่มยา
กลุ่มยาออกฤทธิ์กระตุ้น β-adrenergic recepiors
เช่นยา
Isoproterenol
ออกฤทธิ์กระตุ้นค่อนข้างเจาะจงที่ β2
-adrenergic receptors
terbutaline
albuterol
metaproterenol
isoetharine
กลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้น α-adrenergic receptors
เช่นยา
methoxamine
ออกฤทธิ์กระตุ้นเฉพาะ α2
-adrenergic receptors
clonidine
phenylephrine
กลุ่มยาที่มีอยู่ในร่างกายนี้เป็นสารที่หลั่งจากปลายประสาท postganglionicของระบบประสาทซิมพาเทติก
ได้แก่
dopamine
epinephrine
norepinephrine
กลุ่มอื่น ๆ ยากลุ่มนี้รวมยาที่ออกฤทธิ์ในระบบประสาทส่วนกลาง
amphetamine
ephedrine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
กระตุ้นหัวใจ ทำให้อัตราการเต้นและแรงบีบตัวของหัวใจเพิ่มขึ้น
กระตุ้นให้เกิดการสลายไกโคเจนในตับ ในกล้ามเนื้อลาย และเพิ่มการสลายไขมัน
กระตุ้นให้กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร หลอดลม และหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อลายคลายตัว
ออกฤทธิ์ต่อต่อมไร้ท่อ
กระตุ้นให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงบริเวณผิวหนังและเยื่อเมือกต่าง ๆหดตัวรวมทั้งกระตุ้นต่อมมีท่อต่าง ๆ
ออกฤทธิ์ในระบบประสาทส่วนกลาง
ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้
Epinephrine (adrenaline)
ออกฤทธิ์กระตุ้นทั้ง α-receptors และ β-receptor
ตำแหน่งที่ออกฤทธิ์
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ให้ในขนาดต่ำ
β2- receptors ที่หลอดเลือด
ทำให้หลอดเลือดขยาย
ความดันเลือดลดลง
ให้ในขนาดสูง
กระตุ้น α1-receptors ที่หลอดเลือด
หลอดเลือดหดตัว
ความดันเลือด
สูงขึ้น
กระตุ้น β1-receptor ที่หัวใจอัตราการเต้นและแรงบีบตัว
ของหัวใจเพิ่มขึ้น
กล้ามเนื้อเรียบ
ออกฤทธิ์
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของเดินอาหารคลายตัวและลดการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
รูม่านตาขยาย
กล้ามเนื้อเรียบที่หลอดลมคลายตัวเนื่องจากออกฤทธิ์กระตุ้น β2
-receptors
ในระยะใกล้คลอดกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกคลายตัว
การขับถ่ายปัสสาวะถูกยับยั้ง
กระบวนการเมตาบอลิซึมในร่างกาย
สลายไขมันได้กรดไขมันอิสระ
สลายไกลโคเจนและไขมัน
สลายไกลโคเจนได้กลูโคส
ประโยชน์ทางการรักษา
ใช้ผสมกับยาซาเฉพาะที่ ทำให้ยาชาออกฤทธิ์นานขึ้น
กระตุ้นหัวใจในผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น
ขยายหลอดลมในผู้ป่วยที่เกิดอาการแพ้
ใช้ห้ามเลือดในบริเวณที่มีบาดแผล
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ทำให้เกิดอาการกระสับกระส่าย ปวดศีรษะ สั่น และชีพจรเต้นเร็ว แต่อาการเหล่านี้จะบรรเทาลงเมื่อได้พักผ่อน
ข้อห้ามใช้ยา
ไม่ควรให้ยานี้ในขนาดสูง
อย่าฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำด้วยอัตราเร็วเกินไป
ในผู้ที่ได้รับยาปิดกั้น β-receptors ที่ออกฤทธิ์ไม่เจาะจง
ยากลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้น β2-adrenergic receptors
ประโยชน์ทางการรักษา
รักษาผู้ป่วยโรคหืด
ใช้เพื่อให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ตัวอย่างยาที่ใช้บ่อย
Terbutaline
ใช้รักษา
หลอดลมอักเสบ
เรื้อรัง
ถุงลมโปงพอง
ขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหืด
Albuterol
ใช้รักษา
หลอดลมอักเสบ
เรื้อรัง
ถุงลมโปงพอง
ขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหืด
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
ออกฤทธิ์กระตุ้น β2-areceptors คือ
ผลจากการออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับชนิดนี้มากเกิน
ฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อลายสั่น (skeletal muscle tremor)
กระสับกระส่าย หวาดวิตก หัวใจเต้นเร็ว
ข้อควรระวังในการใช้ยา และการดูแลผู้ได้รับยา
ผู้ป่วยโรคหัวใจ
โรคเบาหวาน
ผู้ป่วยมีประวัติชักผู้ป่วยภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน
ผู้ป่วยที่ใช้ยาลดความดันโลหิต
ยากลุ่มอื่น ๆ
ไม่นิยมใช้ ยานี้เข้าสมองและออกฤทธิ์กระตุ้น
สมองได้
ยากลุ่มออกฤทธิ์กระตุ้น α1-adrenergic receptors
Metaraminol
การใช้
ใช้ในการป้องกันและรักษาภาวะความดันโลหิตต่ำ
เฉียบพลัน
Midodrine
การใช้
ใช้รักษาผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ของระบบประสาทอัตโนมัต
ขนาดยา 2.5-10 มก. รับประทานวันละ 3 ครั้ง
Phenylephrine
ขนาดยา
ขนาดปกติออกฤทธิ์กระตุ้นเฉพาะα1
-adrenergic receptors
กระตุ้น β-adrenergic receptors เมื่อใช้ในขนาดสูงเท่านั้น
การใช้
ใช้เป็นยาหยอดตาเพื่อทำให้รู
ม่านตาขยาย
ใช้ผสมในยาแก้หวัดเพื่อบรรเทาอาการคัดจมูกเพราะยาออกฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัว
ฤทธิ์ไม่พึ่งประสงค์ของยา
ทำให้ความดันโลหิตอาจสูงขึ้น แต่สามารถแก้ไขได้โดยการปรับขนาดยาให้เหมาะสม
ข้อห้ามใช้ยา
ผู้ป่วยเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยโรค
ไทรอยด์เป็นพิษ
ใช้ยากลุ่มนี้ด้วยความระวังในสตรีมี
ครรภ์ และผู้ที่การทำงานของไตไม่สมบูรณ์
2.Dopamine
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่
Alpha1
ขนาดสูงมากขึ้น (10-20 μg/kg/min)เพิ่ม preload รวมทั้งเพิ่มอัตราการเต้นของ หัวใจและเพิ่มการใช้O2ของหัวใจด้วย
Beta1
ให้ยาในขนาดที่สูงขึ้น (3-10 μg/kg/min)มีการหลั่ง
norepinephrine ได้มากขึ้น
dopaminergic receptor
ทำให้เกิด vasodilation ของหลอดเลือดที่ไต
การให้ยาในขนาดน้อย 0.5-3 μg/kg/min จะทำให้เกิดการกระตุ้น D1 postsynaptic receptors ทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะนั้ น ๆ ได้ดีขึ้น
ประโยชน์ทางการรักษา
ใช้ในผู้ป่วยที่มีปริมาณปัสสาวะน้อย
ใช้ในผู้ป่วยความดันเลือดต่ำที่เกิดจากการผ่าตัดเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต
ใช้ในผู้ป่วยช็อก
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์โดยการหยดเข้าหลอดเลือดดำ
หัวใจเต้นเร็ว เต้นผิดจังหวะ
เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง
เกิดอาการคลื่นไส้
อาเจียน
ข้อห้ามใช้ยา
ปรับขนาดยาให้เหมาะสมในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม tricyclic antidepressants
ในผู้ป่วยช็อกที่เกิดจากปริมาณเลือดน้อยต้องให้เลือด พลาสมา หรือน้ำเกลือตามความเหมาะสมเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดก่อนให
ห้ามใช้ dopamine ในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่มยับยั้งเอนไซม์ monoamine oxidase
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้น adrenergic receptors (adrenergic receptor antagonists)
การทำงาน
ขัดขวางไม่ให้ epinephrine, norepinephrineจับกับ adrenergic receptors
แข่งขันแย่งจับ
กับ adrenergic receptors และการปิดกั้นตัวรับส่วนใหญ่เป็นการปิดกั้นแบบไม่ถาวร
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้นได้ 2 กลุ่มคือกลุ่ม
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้น α -adrenergic receptors
ยากลุ่ม Prazosin
ออกฤทธิ์ปิดกั้นค่อนข้างเฉพาะต่อ α –adrenergic
receptors
การออกฤทธิ์
ต้านทานการไหลเวียนเลือดลดลง
ไม่ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
ยาอื่น ๆ ที่อยู่ในกลุ่มนี้คือ
terazosin
doxazosin
ใช้ Prazosin รักษาภาวะความดันเลือดสูง
ข้อห้ามใช้ยา
ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
(congestive heart failure) ที่มีสาเหตุจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ระวังการใช้ยากลุ่มนี้ในหญิงมีครรภ์
หญิงให้นมบุตร ผู้สูงอายุ
ห้ามใช้ยา prazosin ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
ควรเริ่มให้ยาในขนาดเพียง 1
มก. ก่อนนอน
Phenoxybenzamine และ Phentolamine
ออกฤทธิ์ปิดกัน α1 –adrenergic receptors
หลอดเลือดขยายตัว
ความต้านทานการไหลเวียนเลือดลดลง
ออกฤทธิ์ปิดกัน α2 –adrenergic receptors
ทำให้มีการหลั่งnorepinephrine ออกจากปลายประสาทซิมพาเทติก
ระยะเวลาการออกฤทธิ์
phenoxybenzamine จะอยู่อย่างถาวร
phentolamine
เป็นการปิดกั้นแบบชั่วคราว
Phenoxybenzamine ใช้ในผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต
Phentolamine ใช้ในผู้ป่วยภาวะความดันเลือดสูงวิกฤต
ยาออกฤทธิ์ปิดกั้น β-adrenergic receptors (β -adrenergic receptor
antagonists, β -blockers)
แบ่งยาในกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ออกฤทธิ์ปิดกั้น β -receptors ไม่เจาะจง
กลุ่มที่ออกฤทธิ์ปิดกั้นเฉพาะ β1
-receptors
ตัวอย่างยา
Metoprolol, atenolol
ออกฤทธิ์ปิดกั้นเฉพาะ β1
-adrenergic receptors
ไม่ทำให้หลอดลมหดเกร็งเหมือน propranolol
ใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน หรือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดส่วนปลาย
Labetalol
ปิดกั้นได้ทั้ง β-adrenergic receptorsและ α 1
adrenergic receptors
รักษาโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะกรณีเกิด
ภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergencies)
Propranolol
ออกฤทธิ์ปีดกั้น β -adrenergic receptors ได้ทุกชนิด
ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้เกือบสมบูรณ์
Carvidilol
ออกฤทธิ์ปิดกั้น β-adrenergic receptors และ α1-
adrenergic receptors
ต้านออกซิเดชัน
ยับยั้งไม่ให้ผนังของหลอดเลือดหนาขึ้น
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
ประโยชน์ทางการรักษา
ใช้ลดความดันในลูกตาในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน
ใช้ในผู้ป่วยกังวลที่มีอาการทางกาย
ใช้ในผู้ป่วยโรคต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน
ใช้ป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน
ใช้ในโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
ระบบประสาทส่วนกลาง ฤทธิ์ไม่พึ่งประสงค์ที่เกิดในระบบนี้
ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ทำให้หลอดลมหดเกร็ง หายใจไม่สะดวก
อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ข้อห้ามใช้ยา
ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยช็อกที่มีสาเหตุ
จากหัวใจ
ผู้ป่วยโรคหัวใจบางชนิด
ห้ามใช้ β-blockers ที่ออกฤทธิ์ไม่เจาะจงในผู้ป่วยโรคทางเดิน
หายใจถูกอุดกั้น
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดต้องพึ่งอินซูลินที่มัก
เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหลังฉีดอินซูลิน
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympatheticPNS)
ประกอบด้วย
เส้นประสาทไขสันหลัง (Sacral nerves) จาก 2-4
เส้นประสาทที่มาจากเส้นประสาทสมอง (Cranial nerves) คู่ที่ 3, 7, 9และ10
ส่งผลให้
กระเพาะปัสสาวะหดตัว
กระต้นการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้
กล้ามเนื้อหลอดลมหดตัว
หัวใจเต้นช้าลง ระดับความดันโลหิตลดลง
ม่านตาหดตัว มีการปรับเลนส์ตา
หน้าที่
เกี่ยวกับการรักษาหรือการสร้างพลังงาน
ทำหน้าที่ขณะที่ร่างกายพักผ่อน
.
.
ยาเพิ่มการทำงานของระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathomimetic drugsหรือ Cholinomimetic drugs)
กลุ่มยาออกฤทธิ์กระตุ้น cholinergic receptors โดยตรง (direct-acting cholinoceptor agonists)
กระตุ้น Muscarinic receptors (M) ยกเว้น nicotine
ออกฤทธิ์กระตุ้น Nicotinic receptors
แบ่งแยกยากลุ่มนี้ตามโครงสร้างเคมีได้
เป็น 2 กลุ่มย่อย
choline esters
ยากลุ่มนี้มีประจุจึงถูกดูดซึมและเข้าสมองได้น้อย
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ methacholine, carbachol และ bethanechol
cholinergic alkaloids และสารสังเคราะห์
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ muscarine, pilocarpine, nicotine,
lobeline, oxotremorine
nicotine ถูกดูดซึมจากบริเวณผิวหนังได้ดี
muscarine ถูกดูดซึมจาก
ทางเดินอาหารได้ไม่ดีนัก
ประโยชน์ทางการรักษา
ระบบทางเดินอาหาร
ยาbethanechol ขนาด 10-25 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง
กระตุ้นผ่าน muscarinic receptor
เพิ่มแรงตึงตัว แรงบีบตัว การเคลื่อนไหวแบบ peristalsisของกระเพาะอาหารและลำไส้และส่งผลให้กล้ามเนื้อหูรูด (sphincters) คลาย
เพิ่มการหลั่ง secretion ต่าง ๆ ในทางเดินอาหาร
ใช้ในกรณีทางเดินอาหารไม่เคลื่อนไหวหลังการผ่าตัด (postoperative ileus)
ใช้กระตุ้นการทำงานของระบบทางเดินอาหารกรณี gastric atony, gastroparesis
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ทำให้กล้ามเนื้อ detrusor ของกระเพาะปัสสาวะบีบตัวมากขึ้น peristalsis ของท่อปัสสาวะเพิ่มขึ้น
กระตุ้น M3 receptors ที่ทางเดินปัสสาวะ
ยา bethanechol ในขนาด 10-50 มิลลิกรัม วันละ 2-4 ครั้ง
ตา
ใช้ในโรคต้อหิน
ยา pilocarpine ในความเข้มข้น 0.5% - 4% หยอดตา
การเพิ่มน้ำลายป้องกันอาการปากแห้งในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีบริเวณคอ และศีรษะ
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
อาการพิษ
จากการกระตุ้น muscarinic receptors
รูม่านตาหรี่ ตาปรับภาพไม่ได้
คลื่นไส้ อาเจียนการเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ทำให้เกิดอาการท้องเดิน กลั้นปัสสาวะไม่ได้
นอกจากนี้ยังทำให้ต่อมมีท่อหลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น เหงื่อออกมาก
หลอดลมหดเกร็ง หลอดเลือดขยาย อัตราการเต้นของหัวใจเต้นลดลง ระดับความดันโลหิตลดลง
จากการกระตุ้น nicotinic receptors
กล้ามเนื้อลายเกิดการหดตัวไม่สานกัน กล้ามเนื้อเปลี้ยเป็นอัมพาตแก้ไขอาการที่เกิดจากการกระตุ้น muscarinic receptors ได้โดยการให้ atropine sulfate ในขนาด 0.5-1 มิลลิกรัม ฉีดใต้ผิวหนังหรือหลอดเลือดดำ
อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด หรือหายใจลำบาก ให้ใช้ epinephrine ในขนาด 0.3-1 มิลลิกรัม ฉีดใต้ผิวหนังหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ข้อห้ามการใช้ยากลุ่มนี้
ผู้ป่วยต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหืด
ผู้ป่วยมีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป
อาการข้างเคียง
หายใจลำบาก หน้าแดง เหงื่อออกมาก ปวดท้องเกร็ง เรอ มองภาพ
ไม่ชัด ปวดศีรษะ น้ำลายออกมาก
ยากลุ่มออกฤทธิ์โดยทางอ้อม
กลุ่ม carbamic acid esters
physostigmine
neostigmine
กลุ่ม organphosphates
ยากลุ่มนี้มักใช้เป็นยาฆ่าแมลงทำให้เกิดอาการพิษอย่างรุนแรง
ยา isofluorophate, echothiophate, parathion,
malathion
กลุ่มที่มีโครงสร้างเป็นแอลกอฮอล์และสารประกอบ quaternary ammonium
edrophonium ซึ่งเป็นยาที่มีช่วงเวลาออกฤทธิ์สั้นมากและไม่เข้าสมองเนื่องจากเป็นสารมีประจุ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตา ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ เหมือนผลของกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้น cholinergic receptorsโดยตรง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นช้าลง แรงบีบตัวน้อยลง ปริมาณเลือดออกจากหัวใจน้อยลง ความดันโลหิตลดลงเล็กน้อย
ระบบประสาทส่วนกลาง ตื่นตัว ชัก โคม่า การหายใจหยุด
จุกประสานระหว่างเส้นประสาท
และกล้ามเนื้อลายขนาดในการรักษาทำให้กล้ามเนื้อหดตัวนานขึ้น ขนาดสูงขึ้นทำให้กล้ามเนื้อหดตัวไม่ประสานกัน และอ่อนเปลี้ย
ยาต้านการทำงานของระบบประสารทพาราซิมพาเทติก (parasympatholytic drugs หรือanticholinergic drugs)
ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ปิดกั้น muscarine (parasympatholytic drugs)
ทำให้acetylcholine ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่
alkaloid ได้จากพืช
atropine
scopolamine
ยาสังเคราะห์
propantheline,glycopyrrolate, pirenzepine, tropicamide dicyclomine, ipratropium, benztropine
คุณสมบัติ
ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดี
ผ่านเยื่อลูกตาได้ดี
ไม่มีประจุ
เข้าสมองได้
ยาถูกทำลายที่ตับขับออกทางปัสสาวะทั้งในรูปเดิมและรูปที่ถูกเปลี่ยนแปลงแล้ว
ผลทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร เคลื่อนไหวช้าลง
ระบบทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะคั่ง
หลอดลม เกิดการขยายตัว
หัวใจ ขนาดต่ำทำให้หัวใจเต้นช้าลง หลังจากนั้นหัวใจเต้นเร็วขึ้น
ตา ตาพร่า ปรับภาพไม่ได้ รูม่านตาขยาย
หลอดเลือด ไม่มีผลถ้าไม่มี muscarinic agonist
ระบบประสาทส่วนกลาง สงบ ต้านการเมารถเมาเรือ ต้านโรคพาร์คินสัน หลงลืม เพ้อ
ต่อมต่าง ๆ ลดการหลั่ง
ประโยชน์ทางการรักษา
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ใช้ในภาวะหัวใจขาดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร ใช้บรรเทาอาการท้องเดิน
ระบบหายใจ เพื่อลดการหลั่งเมือก ขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหอบหืด
ระบบทางเดินปัสสาวะ ใช้ในกรณีกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ระบบประสาทส่วนกลาง ใช้รักษาโรคพาร์กินสัน รักษาอาการเมารถเมาเรือ
จักษุวิทยา ใช้เพื่อการวินิจฉัยโรคตาบางชนิด และเพื่อป้องกันการติดของม่านตากับเลนส์ตา
ข้อห้ามใช้ยา ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ที่ต่อมลูกหมากโต
ใช้ยากลุ่มนี้ด้วยความระมัดระวังในกลุ่มผู้สุงอายุ
ห้ามใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ที่เป็นต้อหิน (glaucoma)
ตัวอย่างยา
ยาปิดกั้นปมประสาท (ganglionic blockers)
ยาปิดกั้นปมประสาท ได้แก่
hexamethonium
mecamylamine
trimethaphan
ปิดกั้นปมประสาทอัตโนมัติโดยยับยั้ง nicotinic Nv receptorsผลที่ได้ขึ้นอยู่กับว่าอวัยวะนั้น ๆ มีระบบใดเด่นกว่ากัน
ลด sympathetic ที่หัวใจห้องล่างทำให้cardiac output ลดลง
ลด parasympathetic ที่หัวใจ ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว
ลด sympathetic ที่หลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดขยายทำให้ความดันเลือดลด และปริมาณเลือดที่ไหลกลับสู่หัวใจลดลง
ลด parasympathetic ที่อวัยวะอื่น ๆ
การใช้ในทางคลินิก
ภาวะความดันเลือดสูงฉุกเฉิน (hypertensiveemergencies)ใช้trimethaphan
ใช้ timethaphan ในการควบคุมความดันเลือดขณะผ่าตัด
ผลข้างเคียง ตาพร่ามัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดต่ำ
ยาคลายกล้ามเนื้อ (neuromuscular blockers หรือ muscle relaxants)
ใช้เพื่อทำให้กล้ามเนื้อลายเป็นอัมพาต
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
nondepolarizing
เช่นยา
atracurium
pancuronium
tubocurarine
vecuronium
การทำงาน
ปิดกั้น nicotinic NM receptors แบบแข่งขันทำให้กล้ามเนื้อไม่เกิด depolarization ยาละลายในน้ำได้ และไม่เข้าสมอง
กล้ามเนื้อที่เกิดอัมพาตก่อนคือกล้ามเนื้อที่หดตัวเร็ว
การใช้ในทางคลินิก
เป็นยาฉีด
ใช้ระหว่างการผ่าตัดดมยาสลบเพื่อทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว และเป็น
อัมพาต
ใช้ควบคุมการกระตุกของกล้ามเนื้อขณะทำการช็อกไฟฟ้า (electro convulsion) ในผู้ป่วยจิตเวช
ผลข้างเคียง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยหอบหืด
ทำให้หัวใจเต้นเร็วเนื่องจากการยับยั้งvagus
nerveจึงต้องใช้อย่างระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจ
กระตุ้นการหลั่ง histamine
depolarizing
Hyoscine hydrobromide, ชื่อการค้า : Buscopan
ยับยั้งการทำงานของสารสื่อประสาท acetylcholine (ACh)ที่ปลายประสาท parasympathetic site ในกล้ามเนื้อเรียบ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบไม่หดตัว
การใช้ทางคลินิก บรรเทาอาการปวดเกร็งช่องท้อง,ใช้ร่วมกับยาอื่นในการรักษาแผลในทางเดิน
ข้อควรระวัง/ ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็นโรคต้อหิน
หากเกิดอาการชีพจรเต้นเร็ว มึนงง หรือสายตาพร่า ให้หยุดใช้ยา
ผู้สูงอายุ และเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน ควรใช้ตามแพทย์สั่ง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต หรือผู้ป่วยที่ทางเดินปัสสาวะอุดตัน, ลำไส้ไม่บีบตัว, หรือส่วนปลายกระเพาะปัสสาวะตีบ
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เดินไม่ตรง รูม่านตาขยาย กลัวแสง การปรับภาพของตาเสีย และความดันภายในลูกตาเพิ่มขึ้น
ลดการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้อาการแพ้ เกิดผื่นที่ผิวหนังบริเวณหน้า และส่วนบนของร่างกาย
ปากคอแห้ง กระหายน้ำ กลืนลำบาก อาเจียน งุนงง
Botulinum toxin A (Botox)
กลไก
ทำลาย SNAP-25 ทำให้ยับยั้งการ fusion ของ vesicle กับ presynaptic membrane
ยับยั้งการหลั่งACh และสารสื่อประสาทอื่น ๆ
เป็นสารพิษที่สร้างจากแบคทีเรีย Clostridium botulinum
การใช้ในทางคลินิก
ใช้ฉีดเพื่อคลายกล้ามเนื้อเฉพาะที่
ใช้ฉีดเฉพาะที่ (local injection) เพื่อลดรอยย่น (wrinkles)
อะโทรปีน (atropine) หรือ hyoscyamine
ดูดซึมได้ดีทั้งในทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ และ
กล้ามเนื้อ
ขนาดยา
ที่ต่ำกว่า 0.5 มิลลิกรัม จะทำให้หัวใจเต้นช้าลง ปากแห้ง
ขนาด 5 มิลลิกรัมจะทำให้มีปัสสาวะลำบาก และการ
ทำงานของลำไส้ลดลง
การใช้ทางคลินิกรักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากออร์กาโนฟอสฟอรัสและคาร์บาเมต
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาอะโทรปีน และโรคต้อหินชนิดมุมแคบ (narrow-angle glaucoma)
ระวังอาการพิษที่แสดงอาการสับสนวุ่นวายควรหยุดให้ยาทันทีและจะให้อีกครั้และลดขนาดลงเมื่ออาการดีขึ้น
อาการอันไม่พึงประสงค์ปากแห้ง ตาพร่ามัว ปัสสาวะ ลำบาก เพิ่มความดันลูกตา และไข้
การบริหารยาอะโทรปีนสามารถทำได้ทั้งการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ กล้ามเนื้อ หรือทางเดินหายใจ
กลุ่มยาออกฤทธิ์ปิดกั้น nicotinic
receptors