Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำ อิเล็คโตไลท์ กรด-ด่างในร่างกาย และ Body Electrolytes,…
สมดุลน้ำ อิเล็คโตไลท์ กรด-ด่างในร่างกาย และ Body Electrolytes
สมดุลของกรด-ด่าง
ภาวะปกติของร่างกาย
metabolism ของร่งกายเกิดกรดตลอกเวลา เนื่องจาก oxidation ของอาหาร
Volatile acid ได้แก่ CO2
Fixed acids
sulfuric acid
phosphoric acid
กรดอิทรีย์
lactic acid
acetoacetic acid
butyric acid
ความหมายของคำ
Buffer
สารซึ่งเมื่อละลายน้ำจะคง pH ของสารนั้นไว้ได้แม้ว่าเติมกรดแก่ หรือด่างแก่ลงไป หรือ pH เปลี่ยนแปลเล็กน้อย
Arterial blood gases
การประเมินค่ากรด-ด่าง โดยการเจาะเลือดจากหลอดเลือดแดง
Alkalosis
ภาวะด่าง pH ในเลือดแดง >7.45
Acidosis
ภาวะกรด pH ในเลือดแดง <7.35
การวัดความเป็นกรด-ด่าง
ค่าปกติ
ในเลือดแดง pH มีค่า 7.35-7.45
ในเลือดดำและช่องว่างระหว่างเซลล์ ค่าประมาณ 7.35
ภายในเซลล์ pH อยู่ระหว่าง 6-7.4
ภาวะด่าง pH ในเลือดแดง >7.45
Alkalosis
ภาวะกรด pH ในเลือดแดง <7.35
Acidosis
ตัวช่วยควบคุมกรด-ด่างในร่างกาย
Buffer
Bicarbonite-carbonic acid buffer system
ในร่างกาย
Plasma มี pH = 7.4
สมการ Henderson และ Hasselbach
buffer ระบบนี้มีความสำคัญที่สุดในเลือด
มีปริมาณมากที่สุดในเลือด
มีประสิทธิภาพมากที่สุด
Phosphate buffer system
เป็น buffer ที่สำคัญมีอยู่ในเซลล์จำนวนมาก
Red blood cell
renal tubule cell
Protein buffer system
พบทั้งในและนอกเซลล์ ส่วนใหญ่พบในเซลล์ มีประจุ -
Haemoglobin buffer system
Heamoglobin เป็น buffer สำคัญในเซลล์ เนื่องจากจะรวมกับ H+ กลายเป็น HHb และรวมตัวกับ CO2 เป็น HHbCO2
ระบบหายใจ ปอด
สามารถปรับ pH ภายใน 1-5 น. ให้ผลสูงสุดที่ 12-24 ชม.
การควบ pH โดยระบบหายใจให้ผลระหว่าง 50-75%
ถ้า pH ลดต่ำกว่า 7.4 --> H+ ที่เพิ่มขึ้นจะกระตุ้นการหายใจเพื่อกำจัด CO2 ทำให้ pH สูงขึ้น
ถ้า pH เพิ่มสูงกว่า 7.4 --> H+ ที่ลดลงจะลดการหายใจเพื่อเพิ่ม CO2 ทำให้ pH ต่ำลง
ไต
การควบคุมภาวะกรด-ด่าง
non-volatile acid จาก protein : amino acid ที่มี sulfuric และ phosphoric acid
non-volatile acid จาก lipid : keto acid
non-volatile acid จาก carbohydrate : lactic acid และ pyruvic acid
กลวิธีการรักษาสมดุลกรด-ด่าง
การดูดซึมกลับของ bicarbonate
การขับ H+ โดยรวมกับ HPO4 เป็น H2PO4 หรือ titratable acid
การบับ H+ โดยการสร้างเกลือแอมโมเนีย
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Primary metabolic acidosis เป็นกรดจากการเผาผลาญ
สาเหตุ
การสร้างกรดมากขึ้น
การสูญเสียไบขาบมาก ทำให้เลือดเป็นกรด
ร่างกายกำจัดกรดไม่ได้
มีภาวะกรดในร่างกาย
ช็อก
ไตวาย
ติดเชื้อ
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ติดตามสัญญาณชีพ
อัตราการเต้นหัวใจ
ความดันโลหิต
ระดับอิเลคโตลัยท์
K , Cl
ดูแลให้ด่างทดแทน(Bicabonate) ตามแผนการรักษา
ติดตาม สรวจสอบและบันทึก คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เนื่องจากมีระดับ K สูง
เกิดพยาสรีรภาพที่ไต
อาการ
Headache
Decreased BP
Hyperkalemia
Muscle Twitching
Causes
AKE
Severe Diarrhea
Renal Failure
Shock
Primary metabolic alkalosis เป็นด่างจากการเผาผลาญ
สาเหตุ
การเสียกรด
อาเจียน
น้ำย่อยในกระเพาะถูกดูดออกไป
การใช้ยาขับปัสสาวะ
ได้รับด่างเพิ่ม
ได้ยาลดกรด
ดื่มนมมาก
พยาธิสรีรภาพที่หัวใจและไต
อาการ
Hypokalemia
Nausea , Vomiying , Diarrhea
Dysrhythmias (Tachycardiac)
Compensatory Hypoventilation
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ติดตามสัญญาณชีพ
อัตราการเต้นหัวใจ
ความดันโลหิต
ระดับอิเลคโตลัยท์
K , Cl , Ca
ควบคุมการสูญเสียกรดน้ำย่อยจากท่อระบาย
ดูแลการได้รับ K , Bicabonate , Ca ตามแผนการรักษา
Primary respiratory acidosis เป็นกรดจากการหายใจ
สาเหตุ
ร่างกายได้รับด่างมากเกิน
NaHCO3 พื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
สูญเสียกรดมาก
อาเจียน
ระบบทางเดินหายใจผิดปกติ
มีการอุดตัน
หยุดหายใจ
ระบบประสาทส่วนกลางถูกกดจากยา
มอร์ฟีน
ยาสลบ
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ติดตามสัญญาณชีพ
อัตราการเต้นหัวใจ
ความดันโลหิต
ติดตาม สรวจสอบและบันทึก คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เนื่องจากมีระดับ K สูงได้
ให้ O2 ในรายที่มี PaO2 < 90 มม.ปรอท
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดให้นอนศรีษะสูง เมื่อมีอาการหายใจเหนื่อยหอบ
พยาธิสรีรภาพที่ปอด
Drowsiness , Dizziness , Disorientation
Muscle Weakness , Hyperrefiexia
Dyspnea
Hypoventilation --> Hypoxia
Primary respiratory acidosis เป็นด่างจากการหายใจ
สาเหตุ
หายใจแรงลึก
ปัญหาจิตใจ
วิตกกังวล
ศูนย์หายใจถูกกระตุ้นให้หายใจออกเร็วและลึก จากภาวะ สมองอักเสบ ไข้สูง
กรพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ติดตามสัญญาณชีพ
อัตราการเต้นหัวใจ
ความดันโลหิต
ระดับอิเลคโตลัยท์
K , Cl
ดูแลเพื่อลดความวิตกกังวล
ช่วยลดการหายใจเร็วในผู้ป่วย โดยให้หายใจช้าและลึกมากขึ้นให้หายใจในถุง
ดูแลให้ได้รับยาเพื่อลดอัตราเร็วในการหายใจระวังการได้รับยามากเกิน จนกดศูนย์การหายใจ
พยาธิสรีรภาพที่ปอด
Seizures
Lethargy & Confusion
Hypokalemia
Hyperventilation
Nausea , Vomiting
Arterial blood gas
Acidosis
Respiratory acidosis (เพิ่ม) (due to เพิ่ม in carbonic acid)
Metabolic acidosis (ลด) (due to ลด in bicarbonate)
Alkalosis
Metabolic alkalosis (เพิ่ม) (due to เพิ่ม bicarbonate)
Respiratory alkalosis (ลด) (due to ลด in carbonic acid)
การแปรผล ABGs
ขั้นที่ 1
ดูค่า pH (บอกค่า acid-base status) หากค่า pH <7.35 = acidosis, pH >7.45 =alkalosis
ขั้นตอนการวิเคราะห์ค่า Arterial blood gas :ABG
ขั้นที่ 2
ดูค่า PaCO2 (บอกความผิดปกตอของ Respiratory system) หากค่า PaCO2 >45 mmHg.= acidosis , PaCO2 <35 mmHg.=alkalosis
ขั้นที่ 3
ดูค่า HCO3- (บอกความผิดปกติของ Metabolism system) หากค่า HCO3- >26=alkalosis , HCO3- <22=acidosis
ขั้นที่ 4
กรณีไม่มีการชดเชย ค่า PaCO2 , HCO3- ค่าใดค่าหนึ่งเปลี่ยนอีกค่าปกติ แปลผลรวมเป็นไปในแนวทาง pH (acidosis,alkalosis) ตามสาเหตุ
กรณีมีการชดเชย
ชดเชยบางส่วน
ชดเชยสมบูรณ์
ขั้นที่ 5
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ให้ดูค่า PaO2 61-80=mild hypoxemia, 40-60=moderate hupoxemia, <40=severe hypoxemia
น้ำและอิเล็คโตรไลท์ในร่างกาย
ความผิดปกติของน้ำแบะอิเล็คโตรไลท์
ภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
ความหมาย
ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ
สาเหตุ
ได้รับน้ำน้อยลง ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
ปัสสาวะมากผิดปกติ
เสียทางผิวหนังและปอดเหงื่อออกมากผิดปกติ
กลไกลการ ปป. ที่เกิดขึ้น
การ ปป. ที่ระดับเซลล์
ร่างกายขากน้ำมีผลทำให้ความเข้มข้นพลาสมาเพิ่มขึ้น
ดึงน้ำจากในเซลล์ออกนอกเซลล์ 2 : 1
การตอบสนองของร่างกาย
น้ำนอกเซลล์ลดลง และความเข้มข้นพลาสมาเพิ่ม
กระตุ้นการหลั่ง aldosterone ADH และศูนย์กระหายน้ำ
ปริมาณปัสสาวะลดลงและโซเดียมถูกดูดกลับเพิ่มขึ้น และดื่มน้ำมากขึ้น
อาการ
ขาดน้ำรุนแรง
สับสน , กระสับกระส่าย , ซึม , ผิวหนังแห้งมาก , ปากแห้ง
ขาดน้ำน้อยถึงปานกลาง
ผิวแห้ง , อ่อนเพลีย , เหนื่อยง่าย , ปัสสาวะน้อย , เวียนศรีษะ
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
อาจเกิดจาก
การคลั่งของทั้งเกลือและน้ำ
การคลั่งของน้ำอย่างเดียว
การคลั่งของน้ำมากกว่าเกลือ
สาเหตุ
ไตพิการ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ไตปกตแต่มีการหลั่ง ADH มากขึ้น
กลไกลการ ปป. ที่เกิดขึ้น
การ ปป. ระดับเซลล์
น้ำที่เกินจะเคลื่อนที่จากนอกเซลล์ เข้าในเซลล์จนความเข้มข้นเท่ากัน ทำให้เซลล์บวม ระดับ Hct (เลือด) ไม่ ปป.
การตอบสนองของร่างกาย
ระดับความเข้มข้นที่ลดลงและปริมาณ
น้ำนอกเซลล์ที่เพิ่มขึ้นมีผลยับยั้มการหลั่ง ADH
ระดับ aldosterone ปัสสาวะจึงมากขึ้น ร่วมกับ กลไกลยับยั้งการทำงานของศูนย์กระหายน้ำ
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลัน
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
น้ำหนักตัวเพิ่ม
ความดัลเลือดสูง กระตุก ชัก
ม่านตาขยายไม่เท่ากัน
แบบเรื้อรัง
อ่อนเพลีย
ไม่มีแรง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
มีอาการบวมในปอด
หน้าที่ของน้ำภายในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ช่วยในการดูดซึมและแพร่กระจายของสารต่างๆ
เป็นตัวกลางในการนำสารต่างๆไปยังระบบที่เหมาะสม
ใช้ในปฎิกิริยาเคมีในร่างกาย
การสลาย ATP เพื่อให้ได้พลังงาน
ควบคุมการ ปป ความเข้มข้นของส่วนนั้นๆ
น้ำ (water)
น้ำภายในเซลล์ : ICF
40% ของน้ำหนักตัว
น้ำภายนอกเซลล์ : ECF
น้ำภายในหลอดเลือด (plasma)
น้ำระหว่างเซลล์
20% ของน้ำหนักตัว
water intake (1500-3000 ML)
ดื่มน้ำ อาหารเหลว
อาหาร
ข้าว , ผลไม้ , เนื้อ , ผัก
เมตาบอลิซึมของร่างกาย
วิธี Metabolic water
water output (1300-3000 ML)
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ทางผิวหนัง
ปอด
ทางที่ปรับสมดุลได้
ออกไปกับอุจจาระ
ออกทางเหงื่อ
ถ่ายปัสสาวะ
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
การกระหายน้ำ
การขับปัสสาวะ
กลไกลควบคุมความเข้มข้นของพลาสมาให้คงที่ โดยอาศัย ADH
กลไกลการควบคุมปริมาณน้ำ
การกรองที่ไต
aldosterone
ADH
Body Electrolytes
ประเภทของอิเล็กโทรไลท์
CATION อิเล็กโทรไลท์ประจุ+
ANION อิเล็กโทรไลท์ประจุ-
การกระของอิเล็กโทรไลท์ภายใน และภายนอกเซลล์
Intracellular Electrolytes : ICF +
Potassium
Magnesium
Phosphorous
Na* and Cl- มีปฎิกิริยาต่อกัน
Extraceiiular Electrolytes : ECF -
Sodium
Chloride
Bicarbonate
K* and HPO4- มีปฎิกิริยาต่อกัน
เพื่อรักษาความเป็นกลางทางไฟฟ้าในช่องของเหลวแต่ละช่อง
Number Cation = Number Anions
หน้าที่ของอิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย
อิเล็กโทรไลต์กระจายตัวได้ดีในส่วนต่างของร่างกาย
อิเล็กโทรไลท์ในตัวกลาง/ช่องผลิตแรงดันออสโมติก
แรงดันออสโมติกนั้นช่วยรักษาสมดุลของน้ำ
Electrolytes
Na+ เป็นอิเล็กโทรไลท์ที่อยู่นอก้เซลล์มากที่สุด
K+ มีผลต่อระบบประสาทในเมมเบรนที่ปกติ
Cl- เกี่ยวข้องกับกรด-ด่างในร่างกาย และOsmotic pressure
Ca2+ เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับ Ca จะเกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Mg2+ เกี่ยวข้องกับหัวใจ , ระบบประสาท , กล้ามเนื้อ เมื่อมีปัญหาจะส่งผลต่อระบบดังกล่าวในการทำงานและส่งกระเเสประสาท
Sodium lmbalance
Hyponatremia
ระดับโซเดียมในเลือดต่ำกว่า 135 mmol/L
สาเหตุ
เกิดจากการขับสารน้ำของไตนั้นผิดปกติ
เกิดจากการสูญเสียโซเดียม
อาการ
ปวดศรีษะ
คลื่นไส้อาเจียน
หมดสติ
Hypernatremia
ระดับโซเดียมในเลือดสูงกว่า 150 mmol/L
ค่าปกติ 135-145 mmol/L
สาเหตุ
การได้รับน้ำมากเกินไป
ได้รับยาที่มีผลต่อไตในการขับปัสสาวะ
ยาต้านมะเร็ง
ยาเบาหวาน
อาการ
สับสน
ซึม , ชัก
ปัสสาวะน้อย
Potassium lmbalance
Hypokelemia
อาการ
มักเกี่ยวข้องกับระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
คลื่นไส้ , อาเจียน
อ่อนเพลีย
สาเหตุ
ได้รับโพแทสเซียมไม่เพียงพอ
การสูญเสียไปทางปัสสาวะหรือทางเดินอาหาร
การที่โพแทสเซียมย้ายเข้าสู่เซลล์
ภาวะค่าโพแทสเซียม <3.5 mmol/L
Hyperkelemia
ภาวะโพแทสเซียมในเลือด >5 mmol/L
อาการ
หายใจลำบาก
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
เกิดน้ำคั่งในร่างกาย
Calcium lmbalance
Hypocalcemia
สาเหตุ
ภาวะไตล้มเหลวทั้งเฉียบพลันและล้มเหลว
การติดเชื้อในกระเเสเลือด
อาการ
Carpopedal spasm
Chvestek's sign
Trousseau's sign
Hypercalcemia
ความเข้มข้นของเเคลเซียมในเลือด>10.5 มก%
สาเหตุ
การละลายแคลเซียมจากกระดูกเพิ่มขึ้น
การรับประทานหรือมีการดูดซึมเเคลเซียมมากเกินไป
ภาวะไตวาย
Phosphate lmbalance
Hypophosphatemia
ระดับฟอสเฟสในเลือด <2.5mg/dl
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เดินเซ
การหายใจล้มเหลว
เกร็ดเลือดผิดปกติ
สาเหตุ
ลำไล้ดูดซึมฟอสเฟสได้น้อยกว่าปกติ
การสูญเสียออกไปในทางปัสสาวะ
Hyperphosphatemia
สาเหตุ
ภาวะวายเฉียบพลัน/เรื้อรัง
Hypoparathyroudium
Pseudohypoparathyroidism
ระดับฟอสเฟสในเลือด > 5 mg/dl
Magnesium lmbalance
Hypomagnesemia
อาการ
คลื่นไส้ , อาเจียน , ท้องเสีย
ระดับเเคลเซียมลดลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง , ตัวสั่น , อาการชัก
สาเหตุ
การติดเชื้อในกระเเสเลือด
ภาวะบุพโภชนาการ
การได้เลือดที่มี citrate
ภาวะแมกนีเซียมในเลือด<1.7 mg/dl
Hypermagnesemia
อาการ
หัวใจหยุดเต้น
การขยายหลอดเลือดส่วนปลายด้วยความดันโลหิตลดลง
การสูญเสียการตอบสนองหรืออัมพฤกษ์
สาเหตุ
ภาวะไตวาย
การ้ยาขับปัสสาวะ
ร่างกายขาดน้ำ
เลือดเข้มข้นของเลือดเพิ่ม
ไฮโปทาลามัส
กระหายน้ำ
ต่อมใต้สมอง
สร้างฮอร์โมน
ไต
กระตุ้นท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับทำให้ปริมาณน้ำในเลือดลดลง
ท่อหน่วยไตไม่ดูดน้ำกลับทำให้ปริมาณน้ำในเลือดสูง
ยับยั้งการสร้างฮอร์โมน
ร่างกายมีน้ำมาก (ดื่มน้ำเข้าไป)
เลือดเจอจาง
ADH
Thirsty center