Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Muscular system, ลาย , ลาย 2 , 237844588_249707113534753…
The Muscular system
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
10.กล้ามเนื้อของต้นแขน (muscles of the arm)
มีจุดดเกาะต้นที่กระดูก humerus และไปเกาะปลายที่กระดูกปลายแขน ได้แก่ กระดูก radius และ ulnar
Tricep brachii
Origin: Long head: lower lip of glenoid fossa Medial head: posterior humerus Lateral head: posterior humerus
Insertion: Olecranon process ของกระดูก ulna
Insertion: Olecranon process ของกระดูก ulna
Coracobrachialis
Origin: Coracoidprocessของscapula
Insertion: Middle of humerus
Function: งอต้นแขนและหุบต้นแขน
Brachialis
Origin:lower 2/3 of humerus
Insertion:coronoid process ของกระดูก ulna
Function:งอต้นแขน
Anconeus
Biceps Brachii
Insertion:Radial tuberosity ของกระดูก radius
Function: งอต้นแขนและหงายปลายแขน
Origin:Shorthead:coracoidprocess Long head: top of
glenoid cavity
11.กล้ามเนื้อของพื้นช่องเชิงกราน(muscles of the plevis)
Levator ani and Coccygeus
9.กล้ามเนื้อของหลัง(muscles oh the back)
Eerector spinae
iliocostalis lumborum
longissimus thoracis
spinalis thoracis
Transversospinalis muscle
Splenius muscle
Segmental muscle
12.กล้ามเนื้อของเท้า (muscle of the foot)
1.กล้ามเนื้อทางด้านหลังเท้า(Muscle on the dorsum of
the foot)
Extensor digitorum brevis
Insertion:เส้นเอ็นของกล้ามเนื้อ extensordigitorumlongus
Action:เหยียดข้อต่อ metatarsophalangeal ของนิ้วเท้าที่1
Origin:Calcaneous ตาตุ่มด้านข้าง (lateral malleolus) และด้านล่าง
ของ extensor retinaculum
2.กล้ามเนื้อฝาเท้า(Muscle in the sole of the foot)
2.2กล้ามเนื้อชั้นที่2ของฝาเท้า
Lumbricals (foot)
Quadratus plantae
2.3กล้ามเนื้อชั้นที่3ของฝาเท้า
Adductor hallucis
Flexor digiti minimi brevis (foot)
Flexor hallucis brevis
2.1กล้ามเนื้อชั้นที่1ของฝาเท้า
Flexor digitorum brevis
Abductor digiti minimi (foot)
Abductor hallucis
2.4กล้ามเนื้อชั้นที่4ของฝาเท้า
Plantar interosseous (foot)
Dorsal interosseous (foot)
8.กล้ามเนื้อของผนังหน้าท้อง(muscles of the abdominal wall)
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านหน้า (Anterior wall)
Rectus Abdominus
Insertion:Xiphoid process และ cartilages of
ribs 5-7
Action:งอลําตัวและกดผนังหน้าท้องเพื่อเพิ่มความดันในช่องท้อง
Origin:Pubis symphysis และ crest of pubis
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านข้าง (Lateral wall
Internal Oblique
Origin:Iliac crest, Thoracolumbar fascia and inguinal ligament
Action:กดผนังหน้าท้องเเพื่อเพิ่มความดันภายในช่องท้อง
Insertion:rib 10-12 และ rectus sheath
Transverse Abdominis
Insertion:linea alba, xiphoid process และ กระดูก pubic
Action: กดผนังหน้าท้องและช่วยประคับประคองอวัยวะภายในช่องท้อง
External Oblique
Origin: External surface ของ ribs 5-12
Insertion: แนวกึ่งกลางลำตัวบริเวณ linea alba กระดูก pubic
และกระดูก ilium
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้านหลัง(Posteriorwall)
Psoas major
Origin:Iliac fossa ของกระดูก ilium
Insertion:Lesser trochanter ของกระดูก femur
Action:งอต้นขา
Iliacus
Origin:Transverse process ของ T12-L5
Insertion:Lesser trochanter ของกระดูก femur
Action:งอลาตัวและต้นขา
Quadratus lumborum
Origin:iliac crest, spinous processes of lumbar vertebrae and
T11,12
Insertion: Rib ที่ 12 และส่วนของ transverse process ของ
กระดูกสันหลงัระดับL1-L4
Action:งอกระดูกสันหลังระดับเอวไปด้านข้าง
13.กล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหวลิ้น(muscle that move the tongue)
7.กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ(muscles of respiration)
External Intercostal
Origin:ขอบด้านล่างของกระดูกซี่โครงอันบน
Insertion:ขอบด้านบนของกระดูกซี่โครงอันล่าง
Action:ยกกระดูกซี่โครงและเพิ่มปริมาตรช่องอกขณะหายใจเข้า
Internal Intercostal
Origin:ขอบด้านบนของกระดูกซี่โครงอันล่างและ costal cartilage
Insertion:ขอบด้านล่างของกระดูกซี่โครงอันบนและ costal
cartilage
Action:พยุงกระดูกซี่โครงแต่ละชนิดไม่ให้แยกจากกันในขณะผ่อนลม
หายใจออก
Diaphragm
Origin:Lumbar Vertebrae
Costal Cartilage 7-12 และ Xiphoid process ของ sternum
Insertion:Central tendon ของ Diaphragm
Action:ในขณะที่มีการหายใจเข้าจะมีการหดตัวและลดต่ำลง ทำให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น
14.กล้ามเนื้อของปลายขา (muscle of the leg)
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านนอก
Peroneus longus
Peroneus brevis
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านหลัง
Popliteus
Flexor digitorum longus
Gastrocnemius
Flexor hallucis longus
Soleus
Tibialis Posterior
Extensor digitorum brevis
Plantaris
Extensor hallucis brevis
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านหน้า
Extensor hallucis longus
Tibialis Anterior
Tibialis Anterior
Peroneus Tertius
6.กล้ามเนื้อบริเวณคอ (muscles of the neck)
15.กล้ามเนื้อของต้นขา (muscle of the thigh)
กล้ามเนื้อทางด้านใน
Adductor brevis
Gracilis
Pectineus
Adductor longus
Adductor magnus
กล้ามเนื้อทางด้านหลัง
Biceps Femoris
Semitendonosis
Semimembranosus
กล้ามเนื้อทางด้านหน้า
Sartorius
Quadriceps femoris
5.กล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวศีรษะและคอ (muscle
moving the head and neck)
Splenius capitis
Origin: Ligament nuchae และ spinous processes of C1-T3
Insertion:ใต้ superior nuchal line และ บริเวณลำคอ
Semispinalis capitis,
Cervicis and spinalis
Origin:C7-T6
Insertion:กระดูก Occipital
Sternocleidomastoid
Insertion:Mastoid process ของ Temporal และ occipital บางส่วน
Origin:manubrium ของกระดูก sternum และด้านในของกระดูก
clavicle
Action:หดตัวพร้อมกัน 2 ข้างจะก้มศรีษะหดตัวข้างเดียวช่วยในก
ารหมุนศรีษะไปด้านตรงกันข้าม
Longissimus Capitis
Insertion:ขอบด้านล่างของกระดูก mastoid process
Action:กล้ามเนื้อทั้ง 3 มัดข้างต้นเมื่อกล้ามเนื้อทั้งสองข้างทำงานพร้อมกันจะทําให้เกิดการเงยศรีษะและคอถ้าหดตัวข้างเดียวศรีษะจะหมุนไปด้านเดียวกับกล้ามเนื้อหดตัว
Origin:Transverse processes of C5
Scalenes
Origin:Transverse processes ของ C2-C6
ก้มและหมุนคอยกกระดูกซี่โครงอันที่ 1-2
ขึ้นขณะหายใจเข้า
Insertion:Ribs 1-2
Levator scapulae
Insertion:ขอบด้านในของกระดูก scapular
Origin:Transverse processes of C1-C4
Action:ยกกระดูก scapular ขึ้นและหนังคอไปด้านข้าง
Longus Colli
Origin: Transverse processes และ body
ของกระดูกสันหลังระดับคอ
Action:ก้มศีรษะไปทางด้านข้าง
16.กล้ามเนื้อของมือ (muscles of the hand)
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย(Hypothenarmuscle)
Abductor digiti minimi
Flexor digiti minimi brevis (hand)
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโปงและด้านนิ้วก้อย
(intermediate group)
Adductor pollicis
Plamar interosseous
Lumbricals
Dorsal interosseous
กล้ามเนื้อบริเวณด้านหัวแม่มือ (thenarmuscle)
Flexor pollicis brevis
Opponeus pollicis
Abductor pollicis brevis
4.กล้ามเนื้อที่พื้นของช่องปาก(muscle of the floor of
the oral cavity
ทําหน้าที่ยกกล่องเสียงและกระดูก hyoid ขึ้นขณะกลืนอาหารหรือดึงขากรรไกรล่างลงเวลาอ้าปาก
17.กล้ามเนื้อของกล่องเสียง(muscle of the larynx)
ช่วยในการพูด
ช่วยเปิดปิดกล่องเสียงขณะพูด
ดึงกล่องเสียงขึ้นขณะกลืนอาหาร
3.กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว(muscles of
mastication)
ทําใหเ้กิดการเคลื่อนไหวของ temporomandibular joint
กล้ามเนื้อมีจํานวน 4 คู่ได้แก่
Masseter
origin:Zygomaticarch
Action:ยกขากรรไกรล่างขึ้น
Insertion:มุมของกระดูก mandible
Medial pterygoid
Insertion:ผิวด้านในของกระดูก mandible
Action:ยกกระดูก mandible ขึ้นและทำให้มีการเคลื่อนกระดูก mandible
ออกไปด้านข้าง
Origin:Lateral pterygoid plate ของ กระดูก sphenoid กระดูก Palatine กระดูก maxilla
Lateral pterygoid
Insertion: superior head: capsule and & articular disk of the temporomandibular joint: inferior head: ด้านหน้าของ กระดูก mandible
Action:ยื่นกระดูก mandible มาทางด้านหน้าและไปด้านข้าง
Origin:superior head: greater wing ของกระดูก sphenoid
inferior head: lateral pterygoid
Temporalis
Origin:Temporalfossa ของTemporal
Insertion:Coronoid process ของกระดูก Mandible
Action:ยกขากรรไกรล่างขึ้นให้หุบปากและถอยไปข้างหลัง
18.กล้ามเนื้อของปลายแขน (muscles of the forarm)
ทําหน้าที่เคลื่อนไหวข้อมือ มือ และนิ้วมือ
กลุ่มที่อยู่ด้านหน้าของปลายแขน (anterior group
1.1กลุ่มที่อยู่ตื้น(Superficiallayer)
Flexor carpi ulnaris
Palmaris longus
Flexor carpi radialis
Flexor digitorum superficialis
Pronator teres
กลุ่มที่อยู่ด้านหลังของปลายแขน (posterior group
Pronator quadratus
Flexor pollicis longus
Flexor digitorum profundus
2.กล้ามเนื้อลูกตา(muscles of the eyeball)
19.กล้ามเนื้อช่วงไหล่ (muscles of the shoulder girdle)
กล่มุที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกายมีจุด
เกาะปลายที่กระดูก clavicle และ scapular ได้แก่
Pectoralis Minor
Trapezius
Serratus Anterior
Rhomboid Major
Subclavius
Rhomboid Minor
Levator Scapulae
กล่มที่มีจุดเกาะต้นที่กระดูกแกนกลางของร่างกายหรือกระดูก scapula มีจุดเกาะปลายที่กระดูก humerus ได้แก่
Deltoid
Infraspinatus
Latissimus Dorsi
Supraspinatus
Subscapularis
Teres major
Pectoralis major
Teres minor
1.กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า(museles of facial expression)
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis
Insertion:ผังพืดที่คุมอยู่บน nasal
cartilage และด้านข้างของปากจมูก
tranverse part
ทําให้รูจมูกแคบลง alar part หรือ dilator nalis
compressor nalis
ทําใหรู้จมูกกว้างขึ้น
Origin:กระดูก maxilla
กล้ามเนื้อรอบปาก
Risorius
Origin:พังผืดบริเวณแก้ม
Insertion:เกาะกับกล้ามเนื้อorbicularis
oris และผิวหนังบรเิวณมุมปาก
Action:ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้ม หรือหัวเราะ
Levator anguli oris
Insertion: มุมปาก (angle of the mouth)
Action:ยกมุมปากขึ้นให้เห็นฟันขณะยิ้ม
Origin: Canine (canine fossa)
Depressor anguli oris
Action: ดึงมุมปากลงมาด้านล่าง
Origin: กระดูก mandible
Insertion:กล้ามเนื้อ orbicularisoris และผิวหนังบริเวณริมฝีปากล่าง
Mentalis
Insertion:ผิวหนังบริเวณคาง
Action:ทําคางยน
Origin:กระดูกmandible
Buccinator
Insertion:ติดกับกล้ามเนื้อOrbicularisoris
Action:ช่วยในการดูด การเคี้ยวอาหาร การกลืน ผิวปาก
Origin:ผิวด้านนอกของmandibleและmaxilla
Levator labii superioris
Insertion:กล้ามเนื้อorbicularisoris และผิวหนังรอบๆปาก
Action:ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปาก และทำให้รูจมูกผายออก
Origin: กระดูก zygomatic และขอบล่างของเบ้าตาตรงกระดูก
maxilla
Orbicularis Oris
Action:เม้มริมฝีปากหรือหุบปาก
Insertion:ผิวหนังบริเวณริมฝีปากและเยื่อบุรอบๆปาก
Origin:กล้ามเนื้อหลายๆมัดอยู่ที่บริเวณปาก
Zygomaticus
Insertion:เกาะกับกล้ามเนื้อบริเวณมุมปาก และผิวหนังบริเวณนั้น
Action:ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้ม หรือหัวเราะ
Origin:กระดูก Zygomatic
Zygomaticus minor
Zygomaticus major
Depressor labii inferioris
Origin: กระดูก mandible บริเวณด้านข้างของแนวกลาง
Action:ดึงริมฝีปากล่างลง
Insertion:กล้ามเนื้อ orbicularisorisและผิวหนังบริเวณริมฝีปากล่าง
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
Corrugator supercilii
Origin: กระดูก Frontal ตรงบริเวณดังจมูก
Insertion:ผิวหนังบริเวณคิว
Action:ขมวดคิว
Orbicularis Oculi
Insertion:เนื้อเยื่อรอบๆเบ้าตา
Action:หลับตากระพริบตาหยีตา
Origin:ผนังด้านในของเบ้าตา
กล้ามเนื้อคอ
Platysma
Insertion:กระดูก mandible ผิวหนังและกล้ามเนื้อ
บริเวณหน้าทางด้านล่าง
Action:ดึงคางลงละริมฝีปากล่างลงมา
Origin:พังผืดบริเวณคอและหน้าอกและไหล่
กล้ามเนื้อของหนังศรีษะ
Occipitalis
Origin:กระดูก Occipital และ mastoidprocess ของ
กระดูก tempora
Insertion: Galea aponeurosis
Action:ดึงหนังศีรษะไปด้านหลัง
Frontalis
Insertion:ผิวหนังบริเวณคิว
Action:ยักคิวหน้าผากยน
origin:Galeaaponeurosis
การเรียงตัวของกล้ามเนื้อลาย
7.ตามขนาด
Longus , Brevis
Major , Minor
Maximus , Minimus
5.จํานวนจุดเกาะต้น (Origin or head)
กล้ามเนื้อ triceps มีจํานวน 3 หัว
กล้ามเนื้อ quadriceps มีจํานวน 4 หัว
กล้ามเนื้อ biceps มีจํานวน 2 หัว
2.การจัดเรียงตัวของใยกล้ามเนื้อ(FascicleOrgani
zation)
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตรง มักตั้งชื่อว่า rectus
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวขวาง มักตั้งชื่อว่า transverse
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวเฉียง มักตั้งชื่อว่า oblique
6.หน้าที่การทํางาน (Function)
extensor
abductor
flexor
adductor
rotator
3.ตามรูปร่าง
Trapezius(Trapezoid)
Palmaris longus(long)
Deltoid(triangle)
Palmaris brevis(short)
4.ตามตำแหน่งของความสัมพันธ์(Relative Position)
1.ตำแหน่งที่ตั้ง(Location)
Tibialis anterior
Intercostal
Temporalis
8.ตามจุดเกาะต้นหรือจุดเกาะปลาย (Origin and insertion)
ชื่อหน้ามักจะบอกตำแหน่งจุดเกาะต้น
ชื่อหลังมักบอกถึงตำแหน่งจุดเกาะปลาย
กล้ามเนื้อลาย(Skeletal muscle)
การเรียงตัวของเซลล์ใยกล้ามเนื้อ
Bipennate(ขนนก2แฉก)
Multipennate(ขนนกซ้อนๆกัน)
Unipennate(แบบขนนก)
Convergent(สามเหลี่ยมใบพัด)
Fusiform(รูปกระสวย)
Parallel(ตามยาว)
Circular(กลมๆวงๆ)
มีทั้งหมด 792 มัด ประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว
TYFES of MUSCLE (According to appearance or movement)
แบ่งเป็น 3 ชนิดตามการทำงานและที่อยู่
กล้ามเนื้อเรียบ(Smooth muscle)
โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
ไม่มีลายให้เห็น
SR เจริญไม่ดีเหมือนในกล้ามเนื้อลาย
เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย(spindle)
ไม่มี T-tubule และไม่พบ Triad
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
มีเส้นใยประสาทระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์
พบผนังอวัยวะระบบไหลเวียนเลือด ระบบทางเดินปัสสาวะ อาหาร หายใจ สืบพันธุ์ ขนตา ม่านตา ผิวหนัง และตามท่อของต่อมต่างๆ
กล้ามเนื้อลาย(Skeletal muscle)
โครงสร้างอื่นๆที่ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ
1.Sarcoplasmic reticulum (SR)
สะสมแคลเซียม
Transverse Tubular System (T-Tubule)
นําสัญญาณประสาทเข้าสู่ Triad จะเหนี่ยวนําให้มีการหลั่งแคลเซียม
ไอออนจาก SR เข้าไปในเซลล์
เส้นประสาทและรอยต่อประสาทกับกล้ามเนื้อ(nerve and
neromuscular junction)
เป็นเส้นประสาทจากระบบ CNS ออกมาจาก motor neurone
-เซลล์เป็นทรงกระบอกยาวเรียว
-ภายในเซลล์พบนิวเครียสรูปไข่หลายอัน
-อยู่ในอำนาจจิตใจ
โครงสร้างของกล้ามเนื้อลาย
Myofilamnt
เส้นใยหนา (Thick filament หรือ myosin filament)
โมเลกุล myosin ประกอบด้วย
เส้นใยโปรตีนชนิดเบา(Light polypeptide chain) เป็นหัวของไมโอซีน
เส้นใยโปรตีนชนิดหนัก(Heavy) 2สาย
เส้นใยบาง(Thin filament หรือ actin filament)
Troponin
Troponin-I หน่วยที่คอยป้องกันการเกิดสะพานเชื่อม
Troponin-T หน่วยที่รวมกับ Tropomyosin
Troponin-C หน่วยที่รวมตัวกับ Ca2+
Tropmyosin
ลักษณะเส้นใย 2 เส้นพันกันเป็นเกลียว
Actin
F-actin ส่วนที่พับเป็นเกลียว (โมเลกุล Polypeptine )
G-actin รวมกันเป็นก้อนจับกับ head ของ myosin
Muscle contraction
กล้ามเนื้อหัวใจ(Cardiac muscle)
มี T-tubule ใหญ่กว่า และ SK ไม่มีการพัฒนาเป็นกระเปาะ
ไม่พบ Triad
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน
ส่วนประกอบของกล้ามเนื้อหัวใจ
ทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ(Pacemaker และ Syncytium)
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์(Pacemaker cell)
ผลิตศักย์ทำงาน(Action potential)ได้เอง และส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว
มี 2 ชนิด
ปุ่มเอสเอ(Sinuatrial node : S-A node)
ปุ่มเอวี(Atrioventricular node : A-V node)
กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ(Specialized conduction cell)
หน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนต่างๆของหัวใจ
bundle of His
Punkinje fiber
เซลล์ทำหน้าที่หดตัว(Contractile cell)
พบที่ผนังหัวใจทั้ง 4 ห้อง
แถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย แต่มีขนาดเล็กกว่า