Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลน้ำอิเล็คโตรไลท์ สมดุลน้ำ กรดด่างในร่างกาย, Respiratory, Metabolic,…
สมดุลน้ำอิเล็คโตรไลท์ สมดุลน้ำ กรดด่างในร่างกาย
ร่างกายสูญเสียน้ำ 2 ทาง
ทางที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (insensible
perspiration)
อัตราเมตาบอลิซึม
อุณหภูมิร่างกาย
ความชื้น
อุณหภูมิของอากาศ
กิจกรรมที่ทำ , อารมณ์
ทางที่ปรับสมดุลได้ (insensible perspiration)
ทางเดินอาหาร ออกไปกบับ อุจจาระ 100-200 ml.
ผิวหนัง โดยทางเหงื่อ 0-10 ml. (5000 ml.ถ้าออกกําลังกายหนัก)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 500-3000 ml. ข้ึนอยู่กับ
การดื่มน้ํา,ปริมาณADHน้อย (ปัสสาวะมาก),ปริมาณตัวละลาย(solute)ท่ี กรองผ่าน glomerulus (ขับ uria มาก ปัสสาวะมาก), สมรรถภาพของไต, และการเสียน้ําทางอื่น (เหงื่อ อาเจียน ท้องเสีย = ขับปัสสาวะออกน้อย)
กลไกการสมดุลของน้ำ
ปริมาณน้ำสมดุล
ได้รับน้ำ
น้อย
BP ต่ำ เลือดข้น
สมองไฮโปทาลามัส
สมองต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ยังยั้ง ADH
ลดการดูดน้ำกลับ
2 more items...
กระตุ้น ADH
ดูดน้ำกลับเข้าสู่กระแสเลือด
2 more items...
มาก
BP สูง เลือดจาง
สาเหตุภาวะขาดน้ำ
ได้รับน้ำน้อยลงดื่มน้ำน้อยเกินไป
ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ
การคั่งของทั้งเกลือและน้ำ(isotonic expansion)
การคั่งของน้ําอย่างเดียว (water volume excess)
การคั่งของน้ํามากกว่า เกลือ (hypo-tonic expansion)
สาเหตุ
เลือดไปเลี้ยงไตลดลง
มีการอดกั้นปัสสาวะ
ไตพิการ
ไตปกติมีการหลั่ง ADH มากขึ้น
อาการ
แบบเฉียบพลัน
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
ท่าทางผิดปกติ กระตุก ขัก ความดันโลหิตสูง
แบบเรื้องรัง
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ซึม
มีอาการบวมในปอด หายใจลำบาก หอบ
การควบคุมสมดุลภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
Primary respiratory acidosis ลดการหายใจ Co2 สูง pH ลดลง
Primary respiratory alkalosis เพิ่มการหายใจ Co2 ต่ำลง pH เพิ่มขึ้น
Primary metabolic acidosis เสีย Bicarbonate เกิดกรดขึ้นมากในร่างกาย
Primary metabolic alkalosis มีการสะสม Bicarbonate ในร่างกาย เกิดจากการเสียกรดออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
acidosis
Ph⬇️ PaCo2⬆️ HCO3( Normal)
Ph⬇️ PaCO2 (Normal) HCO ⬇️
Alkalosis
Ph⬆️ PaCo2(Normal) HCO3⬇️
Ph⬆️ PaCo2⬇️ HCO3( Normal)
ความหมาย
Alkalosi pH>7.45
Atterial Blood Gases วิธีประเมินค่าคือเจาะเลือดแดงแล้วนำไปหาค่า
Buffer คงค่าpH ไว้
Acidosis pH <7.35
Electrolytes
Na+: Most abundant electrolyte in the ECF.
Hypernatremia
ระดับซีรัมโซเดียมสูงกว่า 150 มิลลิโมล/ลิตร
ผู้ป่วยวิกฤติมีโอกาสสูงที่จะเกิดโซเดียมสูงในเลือด
อาการ
สับสน ชัก ซึม พบผิวหนังตึงคล้ายก้อนแป้ง
K+: Essential for normal membrane excitability for nerve impulse
การได้รับโพแทสเซียมไม่เพียงพอ,การสูญเสียไปทางปัสสาวะหรือทางระบบทางเดินอาหาร และ การที่โพแทสเซียมย้ายเข้าสู่เซลล์
คือ ค่าซีรัมโพแทสเซียมน้อยกว่า 3.5 มิลลิโมล/ลิตร
อาการ
เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Hypokalemia
Hyperkalemia
คือภาวะโพแทสเซียมในเลือดมากกว่า 5 มืลลิโมล/ลิตร
การรักษาภาวะโพแทสเซีนมในเลือดสูงขึ้นกับความรุนแรงและผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Cl-: Regulates osmotic pressure and assists in regulating acid-base balance
Hypocalcemia
สาเหตุ เกิดจาก ภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้องรัง การติดเชื้อสนกระแสเลือด
อาการ
ชัก มีความผิดปกติทางอารมณ์
ELECTROLYTES
• Ca2+: Promotes nerve impulse and muscle contraction/relaxation
Mg2+: Plays role in carbohydrate and protein metabolism, storage and use of intracellular energy and neural transmission. Important in the functioning of the heart, nerves, and muscles
ซีรัมแมกนีเซียมน้อยกว่า 1.7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
สูญเสียแมกนีเซียมในระบบทางเดินอาหารหรือทางปัสสาวะ
Respiratory
Metabolic
Respiratory
Metabolic
Hypermagnesemia