Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphysia และการกู้ชีพ - Coggle Diagram
Birth Asphysia และการกู้ชีพ
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก
(Perinatal Asphyxia)
ภาวะที่สมองและส่วนต่างๆของร่างกายขาดออกซิเจน
เกิดจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง(Hypoxia)เกิดขึ้นในทารกแรกเกิดที่ม่ร้องหรือมีคะแนน Apgar ต่ำ รวมถึงทารกที่มีภาวะ asphyxia ด้วย
ทารกที่มี fetal distress
ภาวะ late deceleration
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การวินิจฉัย
-fetal monitoring
-การประเมินลักษณะของน้ำคร่ำจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ
-Apgar score น้อยกว่า 6
-ตรวจเลือดจากสายสะดือพบการมีภาวะ hypoxia,hypercarbia และ acidosis
อาการทางคลินิก
-การหายใจไม่สม่ำเสมอ/ไม่มีแรงในการหายใจ(หยุดหายใจ)/หายใจเร็ว
-อัตราการหายใจช้า (bradicardia)/เร็ว(tachycardia)
-ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
-ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำ
-ความดันเลือดต่ำ
ขั้นตอนการกู้ชีพทารกแรกเกิดของ NRP
-การประเมินเบื้องต้น (initial asessment)
-ทางเดินหายใจ (Airway : A)
-การหายใจ (Breathing : B)
-การไหลเวียนเลือด (Circulation : C)
-การให้ยา (Drug : D)
ทีมช่วยฟื้นคืนชีพ 1 คน สามารถทำการกู้ชีพเบื้องต้น การให้ Positive-pressure ventilation ได้การกดหน้าอกนวดหัวใจได้
ขั้นตอนการดูแลเบื้องต้นในการกู้ชีพ
-การให้ความอบอุ่น
-จัดศีรษะให้อยู่ในท่า sniffing
-ทำทางเดินหายใจให้โล่งด้วย bulb syringe หรือ suction catheter
-เช็ดตัวให้แห้ง
-กระตุ้นให้เด็กร้องหรือหายใจ
การควบคุมอุณหภูมิ
Preterm (น้อยกว่า 1,500 g.)มักพบภาวะอุณหภูมิต่ำ
-ให้ปรับอุณหภูมิห้องคลอดให้อยู่ที่ 26 องศาเซลเซียส
-ห่อทารกด้วยแผ่นพลาสติก
-วางทารกบนเบาะให้ความร้อน
-ติดตามอุณหภูมิทารกอย่างใกล้ชิด
การทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
น้ำคร่ำใส
แนะนำ suction ทนทีภายหลังการคลอด (ด้วย Bulb syringe) เฉพาะในทารกที่มีการอุดตันทางเดินหายใจชัดเจน หรือในทารกที่ต้องการ positive-pressure ventilation (PPV)เท่านั้น
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
แนะนำให้ทำ endotracheal suction อยู่ในทารกที่มีน้ำคร่ำปนขี้เทาและไม่ตื่นตัว (non vigorous) การใส่ท่อช่วยหายใจใช้เวลายาวนานหรือไม่สำเร็จ ควรให้การช่วยหายใจด้วย bag-mask ก่อนโดยเฉพาะในกรณีที่ทารกหัวใจเต้นช้า
การประเมินความต้องการและการให้ออกซิเจน
การประเมิน
-ระดับออกซิเจนในกระแสเลือดที่ต่ำกว่าปกติในช่วง 10 นาทีแรกคลอด ไม่ได้มีผลเสียต่อทารก
-โดยทั่วไปค่า oxyhemoglobin saturation จะอยู่ที่ 70-80% ในระยะเวลาหนึ่งหลังคลอด
-ส่งผลให้ทารกมีภาวะ Cyanosis ได้เป็นปกติ
-การให้ออกซิเจนไม่ว่ามากหรือน้อยจนเกินไปล่วนแต่เป็นอันตรายต่อทารก
การให้ออกซิเจน
-ควรเริ่มโดยใช้ความเข้มข้นที่ room air ก่อน
-หากทารกมีภาวะหัวใจเต้นช้า (น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที)
-ภายหลังการกู้ชีพด้วยออกซิเจนที่ระดับต่ำนานมากกว่า 90 วินาที
-จึงค่อยปรับความเข้มข้นเป็น 100%
-จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะกลับเป็นปกติ
Pulse oximetry
แนะนำให้วัดดระดับออกซิเจนทุกครั้ง ที่คาดว่าจะต้องทำการกู้ชีพให้ positive-pressure ventilation มี cyanosis เป็นเวลานาน หรือเมื่อมีการให้ออกซิเจน ตำแหน่งที่เหมาะสมในการติด probe แนะนำเป็นบริเวณข้อมือ หรือฝ่ามือด้านในข้างขวา (wrist or medial surface of palm)
การนวดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจ
(Chest compression)
อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที ภายหลังได้รับการช่วยหายใจด้วยออกซิเจนที่เหมาะสมนานกว่า 30 วินาที
-ตำแหน่งที่กด :กดบนกระดูกสันอกที่ 1 ส่วน 3 ทางล่างสุดของกระดูกสันอก
-แรงกด :กระดูกสันอกยุบลง 1-1.5 cm.
-อัตราการกด : สม่ำเสมอ 90 ครั้ง/นาที
-การนวดหัวใจ :การหายใจ = 3:1
ประสิทธิภาพของการนวดหัวใจ
1.การคลำ Carotid หรือ femoral pulse
2.ภาวะไหลเวียนของเลือดบริเวณส่วนปลาย (peripheral circulation)
3.ขนาดของรูม่านตา ซึ่งมีขนาดปานกลางหรือหดเล็ก
ถ้าอัตราการเต้นขอหัวใจไม่เพิ่มหรือเลวลงเรื่อยๆ แสดงว่าทารกมีภาวะ metabolic acidosis ในระดับรุนแรง ควรแก้ไขภาวะกรดด่าง และอาจกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจด้วย epinephrine การให้ NaCHO3 ก่อนการให้ epinephrine นอกจากจะแกไขภาวะ metabolic acidosis แล้วยังช่วยให้กล้ามเนื้อหัวใจตอบสนองต่อ epinephrine ดีขึ้นด้วยการใช้ยา
การให้ยา
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา
1.HR <60 bpm.หลังให้ O2 100% และช่วยนวดหัวใจนาน 30 วินาที
2.ไม่มีการเต้นของหัวใจ
Epinephrine
-ขนาดที่แนะนำทางหลอดเลือดดำคือ 0.01-0.03 มก./กก. ต่อการให้หนึ่งครั้ง
-การให้ในขนาดที่สูงกว่าที่แนะนำอาจทำให้เกิดความดันโลหิตสูง
-ลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
-อาจส่งผลเสียต่อการทำงานของระบบประสาท
-หากต้องการให้Epinephrine ทางท่อช่วยหายใจ อาจต้องมีการปรับขนาดยาให้สูงขึ้น เป็น 0.05-0.1 มก./กก. แต่ยังไมีมีการรับรองในแง่ของผลลัพธ์
-การให้ยาทั้ง 2 ช่องทาง แนะนำให้ใช้Epinephrine ทีมึความเข้มข้น 1:10,000 (0.1 มก./มล.)
NaHCO3
-4.2%NaHCO3 (0.5 mEq/ml) -ขนาดที่ใช้คือ 2 mEq/kg. -โดยนำไปเจือจางเท่าตัวด้วย sterile water แล้วให้ช้าๆทาง umbilical venous catheter (ไม่ควรให้ทาง ET-tube)
การดูแลภายหลัง Resuscitation
1.ติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
2.Narcon (Naloxone) (0.04 มก./มล.)ขนาดที่ใช้ 0.1 มก./กก.(0.25 ml/kg.)ทางหลอดเลือดดำ/ET-tube/กล้ามเนื้อ/Subcutaneous
3.Glucose ขนากที่ใช้ 2 มล./กก./ครั้ง เข้าทาง umbilical catheter ใช้ในกรณีที่ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและให้ NaHCO3 แล้วยังมี bradycardia แสดงว่าทารกมีภาวะ hypoglycemia
การยุติการกู้ชีพ
1.สามารถยุติการกู้ชีพได้
2.ในกรณีที่ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจตั้งแต่แรกคลอด
3.ยังคงไม่เต้นต่อเนื่องนาน 10 นาที
4.หากต้องการดำเนินการกู้ชีพต่อ ควรพิจารณาเฉพาะในกรณที่ทรายสาเหตุ
-การหยุดเต้นของหัวใจ
-อายุครรภ์
-ภาวะแทรกซ้อนที่ชัดเจน
-ผู้ปกครองสามารถยอมรับความเสี่ยงของความพิการที่อาจตามมาภายหลังได้