Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิของกล้ามเนื้อและกระดูก, นางสาววรรณา แหลมกีก่ำ UDA6380063 - Coggle…
พยาธิของกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกข้อ กล้ามเนื้อ เอ็น ระบบประสาท เป็นเนื้อเยื่อที่มีความแตกต่างกัน แต่มีการทำงานเกี่ยวข้อง ประสานกัน
กระดูกสาคัญต่อการเคลื่อนไหวของร่างกาย น้ำหนักเบา
กระดูกยาว(Tubular bone) ทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักและการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย กระดูกแบน(Flat bone) ทำหน้าที่ป้องกันอวัยวะสำคัญที่อยู่ภายใน
กระดูกยาว(Tubular bone, Long bone) มีองค์ประกอบของdiaphysis ซึ่งเป็น กระดูกที่เจริญเต็มที่(Mature bone) และ Epiphysis เป็นบริเวณที่มีการสร้าง กระดูกเกิดขึ้นในกระดูกยาว โดยมีEpiphysis plate เป็นรอยต่อระหว่าง diaphysis
และ Epiphysis
กระดูกแบน(Flat bone) ท าหน้าที่ป้องกันอวัยวะสำคัญที่อยู่ภายในจะไม่มีEpiphysis plate
เยื่อหุ้มกระดูก(Periosteum) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทีห่อหุ้มรอบ กระดูกและ endosteum ซึ่งอยู่ ส่วนในของกระดูก จะทำหน้าที่ เชื่อมต่อกระดูกเมื่อมีกหักระ
ฮอร์โมนที่มีส่วนในการกระตุ้นการทำลายกระดูก ได้แก่ parathyroid H. Interluekin 1, Interluekin 6, Tumor necrosis factor-beta (มีosteoblast เป็ นตัวรับแล้วส่งให้Osteoclast)
การเปลี่ยนแปลงของกระดูกและการควบคุม
กระดูกเป็นแหล่งสะสมแคลเซียมของร่างกาย
Calcium ใน plasma ลดลง
กระดูก
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลทำให้ระบบกระ ดูกทำหน้าที่บกพร่อง
หน้าที่ของ
กระดูก
เป็นแหล่งสะสมของCALCIUM
ช่วยการ
เคลื่อนไหว
สร้างเม็ด
เลือด
ปกป้องอวัยวะที่
สำคัญภายในร่างกาย
เป็นที่ยึดเกาะของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ
สาเหตุการเกิดพยาธิสภาพของกระดูก
ความผิดปกติทำงานพันธุกรรม
การติดเชื้อ
ไม่ใช่การติดเชื้อ
ความผิดปกติขององค์ประกอบที่อื่นสัมพันธ์กันได้แก่ กล้ามเนื้อ ข้อต่อเส้นเอ็น ระบบประสาท
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของOsteoclast (Diseases cause by osteoclast dysfunction)
Osteopetrosis หรือเรียกว่าMarble bone disease หรือAlbers-Schonberg disease
เกิดจากการทำงานของOsteoclast ผิดปกติทำให้กระดูกหนาทั่ว ๆ 2ไปข้างของทั้ง ร่างกาย(diffuse symmetric skeleton sclerosis) กระดูกที่พบจะแข็งเหมือนหิน (Stone like quality) แต่เปราะและแตกง่ายเหมือนชอล์ค
สาเหตุคาดว่าน่าจะมาจากการขาดเอนไซม์carbonic anhydrase II ของ osteoclast และเซลล์ท่อไต(Renal tubular cells) ในการขับhydrogen ions ทำให้สิ่งแวดล้อมขอ
เซลล์มีสภาพเป็นกรดการขาดเอนไซcarbonicม์ anhydrase II ทำให้osteoclast ไม่สามารถย่อยสลายและดูดซึมmetrix ของกระดูกได้
โรคที่เกิดจากการได้รับสารอาหารหรือเกลืดปกอแร่ผิดปกติ
Rickets and Osteomalacia เป็นกลุ่มโรคที่มีสาเหตุแตกต่างกันแต่มีลักษณะของโรคล้ายกันคือ มีความผิดปกติในสารอนิย์นทรีMetrix ของกระดูก ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับการ ขาดวิตามินD
Rickets หมายถึงความผิดปกติของการเจริญเติบโตของกระดูกท าให้กระดูกผิดรูปถ้าเกิดแต่ ในผู้ใหญ่ เรียกOsteomalacia
เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการremodelling จะไม่มีการสะสมของสารอนินทรีย์ในกระดูกทำให้เนื้อกระดูกลดลง(Osteopenia) และหักง่าย
การติดเชื้อที่ข้อและกระดูก
INFECTIOUS ORTHOPEDICS DISEASE
โรคข้อเสื่อม ( OSTEOARTHRITIS
:OA)
JOINT
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ RHEUMATOID ARTHRITIS; RA
JOINT
SEPTICARTHRITIS
JOINT
OSTEOMYELITIS
BONE
Osteoarthritis (OA)
อาการ
เจ็บปวด เมื่อขยับข้อต่อ
ข้อต่อบวม
อาการกดเจ็บ เมื่อมีการใช้แรงกดบริเวณข้อต่อ
สาเหตุ
อายุ
ประสิทธิภาพการซ่อมแซมกระดูกข้อต่อที่สึกหรอ และการส่งเลือดไปเลี้ยงข้ออาจลดลงตามอายุ
โรคอ้วน
ผู้ป่วยโรคอ้วนมักเผชิญอาการ Osteoarthritis บริเวณเข่าและสะโพก เพราะข้อต่ออาจรับน้ำหนักมากเกินไป ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายมากขึ้น
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ RHEUMATOID ARTHRITIS; RA
อาการ
มีอาการปวด บวม แดง อุ่น ข้อฝืด โดยจะเกิดขึ้นพร้อมกันในร่างกาย เช่น มือ ข้อมือ ข้อศอก เท้า ข้อเท้า เข่า และคอ
อาการข้อฝืดแข็ง อาจเกิดขึ้นหลังจากที่ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว เช่น ตอนตื่นนอนในตอนเช้า หรือนั่งเป็นเวลานาน ๆ
สาเหตุ
เพศ เพศหญิงมีแนวโน้มที่เป็นข้ออักเสบรูมาตอยด์มากกว่าเพศชาย
อายุ ข้ออักเสบรูมาตอยด์ สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกวัย แต่ส่วนมากมักจะเกิดระหว่างอายุ 40-60 ปี
ประวัติคนในครอบครัว หากมีคนในครอบครัวเคยเป็นข้ออักเสบรูมาตอยด์ ก็จะมีความเสี่ยงในการเป็นมากขึ้น
OSTEOMYELITIS
อาการ
มีอาการปวด บวม หรือแดงในบริเวณที่มีการติดเชื้อ
และอาจพบหนองร่วมด้วย
มีไข้ หนาวสั่น
อ่อนเพลีย
สาเหตุ
การติดเชื้อจากแผลเปิด เชื้อโรคอาจเข้าสู่ร่างกายเมื่อเกิดบาดแผลและอาจทำให้เชื้อแพร่กระจายไปถึงกระดูกได้ โดยการเกิดแผลอาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น การผ่าตัด การบาดเจ็บ เป็นต้น
การติดเชื้อจากเนื้อเยื่อหรืออวัยวะใกล้เคียง บาดแผลที่เกิดขึ้นอาจอักเสบจนลุกลามไปยังเนื้อเยื่อหรืออวัยวะต่าง ๆ แล้วแพร่กระจายไปยังกระดูกที่อยู่ใกล้เคียงกันด้วย
ไม่ใช่การติดเชื้อที่
กระดูก
โรคกระดูกพรุน
อาการ
ช่วงแรกจะสังเกตไม่เห็นอาการ แต่หากพบว่าส่วนสูงเริ่มลดลง มีอาการหลังค่อมต่อมารู้สึกปวดที่กระดูกโดยปวดลึกๆ ที่กระดูก เช่น ที่กระดูกหลังขา กระดูกจะหักง่ายเมื่อล้ม
สาเหตุ
1.พันธุกรรม พบว่าชาวผิวขาวมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุนมากกว่าชนผิวดำ ( นิโกร ) ส่วนชาวเอเชีย ( รวมทั้งคนไทย ) เป็นพวกเผ่ามองโกลอย จะเก็บสะสมเนื้อกระดูกได้มากกว่าชาวผิวขาวแต่น้อยกว่าชาวผิวดำ
2.ปริมาณแคลเซียมที่ได้รับและเก็บสะสมไว้ในขณะนั้น ซึ่งปริมาณแคลเซียมที่เหมาะสมของแต่ละช่วงอายุ
3.สารอื่นๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างเนื้อกระดูก
4.ปัจจัยที่สร้างการต้านสะสมเนื้อระดูก
กระดูกหัก
อาการ
เจ็บปวด บวม บริเวณที่มีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
สีของผิวหนัง รูปร่างของอวัยวะนั้น ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากรูปร่างปกติ
ไม่สามารถเคลื่อนไหวบริเวณนั้นได้ หรือเคลื่อนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก
สาเหตุ
ได้รับแรงกระแทกจากการเคลื่อนไหว เช่น เล่นกีฬาที่ต้องลงน้าหนักมากเกินไป ซึ่งท้าให้เท้า ข้อเท้า หน้าแข้ง หรือสะโพก เกิดกระดูกปริได้
ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนหรือมะเร็งบางชนิด ส่งผลให้มวลกระดูกเสื่อมลงและหักได้ง่าย หากได้รับแรง
เก๊าท์
มะเร็งกระดูก
อาการ
อาการเจ็บกระดูก ซึ่งมักเริ่มจากอาการคล้ายฟกช้ำบริเวณกระดูกที่ได้รับผลกระทบจากมะเร็ง หลังจากนั้นจะเริ่มเจ็บอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานหรือเจ็บเป็นพัก ๆ มักเกิดขึ้นในตอนกลางคืนหรือขณะนั่งพัก
สาเหตุ
การรักษาโดยการใช้รังสี
เป็นโรคเกี่ยวกับกระดูก
พันธุกรรม
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อ
การมีกล้ามเนื้ อลีบ (Atrophy) มักมาจากความผิดปกติของระบบประสาทที่เกี่ยวข้องกับ motor centers ในระบบประสาทส่วนกลาง หรือความผิดปกติของ motor neuron ในระบบประสาทส่วนปลาย (Polio) หรือความผิดปกติของ neuromuscular junction (Myasthenia gravis : MG)
การอักเสบของกล้ามเนื้อ (Myositis) อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อราหรือพยาธิก็ได้ และอาจเกิดจากภาวะ autoimmune
polymyositis เป็นคำที่จะได้ยินบ่อย ๆ บ่งบอกถึงสภาวะที่มีอาการและอาการอสดงของผู้ป่วยที่เกิดจากกล้ามเนื้ออักเสบ
การทำงานของระบบกล้ามเนื้อ
โรคกล้ามเนื้อลีบ
อาการ
อ่อนแรงบริเวณแขน ขา มือ หรือเท้า จนมีผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจทำให้เกิดความยากลำบากในการเดิน อาจสะดุดล้ม หรือหยิบจับสิ่งของไม่สะดวก
รู้สึกปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบ และกระตุกรวมทั้งอาจมีอาการแข็งเกร็งบริเวณแขน ไหล่ และลิ้น
พูดไม่ชัด เคี้ยวและกลืนอาหารลำบาก
สาเหตุ
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือโปรตีนบางชนิดที่อาจทำให้เซลล์ประสาทตาย
ความไม่สมดุลของสารเคมีในร่างกาย อย่างการมีระดับกลูตาเมตสูงเกินไป
ปัจจัยทางพันธุกรรมที่ทำให้เซลล์ประสาทเสื่อมสภาพ
myasthenia gravis
อาการ
กล้ามเนื้อรอบดวงตา หนังตาตกข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง เป็นอาการแรกที่สังเกตได้ รวมถึงพบปัญหาด้านการมองเห็น เช่น มองไม่ชัด หรือเห็นภาพซ้อน เป็นต้น อาการจะดีขึ้นเมื่อหลับตาข้างใดข้างหนึ่งลง
ใบหน้า หากกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการแสดงออกบนใบหน้าได้รับผลกระทบ จะทำให้การแสดงออกทางสีหน้าถูกจำกัด เช่น ยิ้มได้น้อยลง หรือกลายเป็นยิ้มแยกเขี้ยวเนื่องจากไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อบนใบหน้าได้
สาเหตุ
สารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้ (Antibodies) และการส่งสัญญาณประสาท ปกติระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะผลิตแอนติบอดี้ออกมาเพื่อทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย แต่ในผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง แอนติบอดี้จะไปทำลายหรือขัดขวางการทำงานของสารสื่อประสาทแอซิติลโคลีน (Acetylcholine) โดยถูกส่งไปที่ตัวรับ (Receptor) ซึ่งอยู่ที่ปลายระบบประสาทบนกล้ามเนื้อแต่ละมัด ทำให้กล้ามเนื้อไม่สามารถหดตัวได้
ต่อมไทมัส (Thymus Gland) เป็นต่อมที่อยู่บริเวณกระดูกอก มีส่วนในการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ผลิตสารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้ไปขัดขวางการทำงานของสารสื่อประสาทแอซิติลโคลีน เด็กจะมีต่อมไทมัสขนาดใหญ่และจะค่อย ๆ เล็กลงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ แต่ผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงจะมีขนาดของต่อมไทมัสที่ใหญ่ผิดปกติ หรือผู้ป่วยบางรายมีภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงที่มีสาเหตุมาจากเนื้องอกของต่อมไทมัส ซึ่งพบประมาณร้อยละ 10 ในผู้ป่วยสูงอายุ
หน้าที่ของ
กระดูก
เป็นแหล่งสะสมของCALCIUM
ช่วยการ
เคลื่อนไหว
สร้างเม็ดเลือด
ปกป้องอวัยวะที่
สำคัญภายในร่างกาย
นางสาววรรณา แหลมกีก่ำ UDA6380063